Page 108 - CultureMag2015-3
P. 108

บรรยา  กาศแห่งการเรียนรู้                                                      อ่ืนฟัง รวมถึงได้เจอผู้หลักผู้ใหญ่อีกเยอะแยะ อย่างพี่เนาว์
                                                                               (เนาวรตั น ์ พงษไ์ พบลู ย)์  พเี่ อนก (เอนก นาวกิ มลู ) ใครตอ่ ใคร
       “การเติบโตมาในครอบครัวดนตรีไทยก็มีทั้งส่วนท่ี                           ในยคุ นน้ั   เรากเ็ หน็ วา่ ดนตรมี นั มปี ระโยชนม์ ากกวา่ มาลอ้ มวง
ส่งเสริม และมีท้ังแรงต้าน แต่ส่ิงหน่ึงก็คือเราไม่เคยมีความ                     เล่นกันอย่างเดียว  มันคือความสนุกสนาน มันมีเพ่ือน มันมี
รู้สึกว่าถูกยัดเยียด  ตั้งแต่เด็กๆ ท่ีบ้านเราเห็นว่าอาช่าง                     บรรยากาศ”  
(“ครูช่าง” ชลประคัลภ์ จันทร์เรือง) ก็มา ครูบุญยงค์ เกตุคง 
ก็มา ครูประสิทธ์ิ ถาวร ก็มา  เย็นๆ พ่อซ้อมดนตรี เราก็ฟัง                       แรงกดดนั
ครคู นโนน้ มาพดู มาคยุ  กค็ อ่ ยๆ ซมึ ซบั ไป แตไ่ มเ่ คยเรยี นดนตรี
ในระบบเลย  จนมีอยู่วันหนึ่ง สัก ป. ๔ ป. ๕ ไปที่ห้องสมุด                               “อันน้ันคือเร่ืองของการผลักดันการสนับสนุน แต ่
โรงเรียน เราเห็นรูปคนคนหน่ึง ใส่ชุดโบราณ เราก็ ‘ใครนะ ?’                       ช่วงหนึ่งก็มีเร่ืองของความกดดัน พอเราเร่ิมรู้แล้วว่าทวดเรา
เพราะมันคุ้นมากไง แล้วพอกลับมาท่ีบ้าน หลายวันต่อมา                             เปน็ ใคร ใครเปน็ ใคร มลู นธิ กิ ำ� ลงั ทำ� อะไร แลว้ ถา้ เผอ่ื โตขนึ้  เรา
ไปเปดิ หนงั สอื เจอ ‘หลวงประดษิ ฐไพเราะ’ เรากย็ งั  ‘ใครนะ ?’                  ตอ้ งทำ� อะไร มนั กม็ คี วามกดดนั เหมอื นกนั  วา่ เราจะท�ำไดไ้ หม  
อยู่เลย เพราะความที่เป็นเด็ก แล้วท่ีบ้านการท่ีจะเรียกมานั่ง                    อย่างสมัยเรียนผมท�ำกิจกรรมเยอะ เป็นนักฟุตบอลโรงเรียน
(แล้วบอกว่า) เอ้...อย่างน้ันนะอย่างนี้นะ มันไม่มี มันเป็น                      นักฟุตบอลมหาวิทยาลัย เขียนรูป ทำ� อะไรเยอะแยะ  ขณะท่ี
บรรยากาศมากกวา่ ”                                                              บางคน วันเสาร์วันอาทิตย์จะไปทำ� อะไรก็ได้ แต่เรากลับต้อง
                                                                               มานั่งสอนดนตรี บางทีก็ต้องไปหาครูบาอาจารย์อะไรอย่างน ้ี  
ก�ำเนิด “วงกอไผ่”                                                              คอื ในชวี ติ เราชว่ งหนงึ่ กม็ ที ร่ี สู้ กึ ขนึ้ มาวา่  เอะ๊  ! จะยงั ไงด ี ทำ� ไม
                                                                               เราต้องมารับผิดชอบอะไรท่ีไม่เหมือนคนอ่ืนด้วย (แต่) จริงๆ
       “พอเราเรมิ่ โตขนึ้  พอ่ กใ็ ชว้ ธิ กี ารเปดิ เทปในรถ นง่ั ไป            แลว้ มนั ไมใ่ ชเ่ รอื่ งใหญ ่ เปน็ เรอื่ งทเ่ี ราคดิ ไปเองทง้ั นน้ั   ถา้ เรารู้
ส่งโรงเรียนกลับจากโรงเรียน มันก็ค่อยๆ ซึม เราถาม พ่อก็                         ว่าเราก�ำลังท�ำอะไรอยู่ เราทำ� ได้แค่ไหน อะไรท่ีควรทำ�  อะไร
เล่าก็คุย มันก็ค่อยๆ เรียนมาในระบบนั้น แล้วเผอิญเราไม่ได้                      ไม่ควรท�ำ อะไรอยากท�ำ อะไรต้องท�ำ ถ้าสามารถจัดสรรได้
ส่ือสารคนเดียว มีเพ่ือนร่วมกลุ่มกัน มีพ่ีหน่อง (อานันท ์                       มนั กเ็ ป็นไปตามธรรมชาติของมนั ”
นาคคง) มีพี่นิก (ชัยภัค ภัทรจินดา) มีประสาร (ประสาร 
วงศว์ โิ รจนร์ กั ษ)์  ทเ่ี ปน็ เพอ่ื นตา่ งโรงเรยี น แตว่ า่ มาเชอ่ื มโยงกนั  ยคุ แสวงหา
มีความรกั ในดนตรคี ล้ายๆ กัน  
                                                                                      “ผมจบรัฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ เคยท�ำงานในระบบ
       “ในยุคแรกๆ จะไปเจอกันแถวๆ ศูนย์สังคีตศิลป์                              ราชการทส่ี ำ� นกั งานปฏริ ปู ทด่ี นิ ฯ หรอื  ส.ป.ก. ทำ� อยไู่ ด ้ ๖ เดอื น 
(ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด สาขาสะพานผ่านฟ้า) แล้วเผอิญ                              ก็รู้สึกว่ามันไม่ใช่แล้ว ก็ออกไปเป็น sound engineer แล้วก ็
พ่ีใหญ่นายวง คือพี่หน่อง ไม่ได้เร่ิมต้นจากความรักดนตรี                         ไปเป็นหัวหน้าฝ่ายศิลปวัฒนธรรมที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี 
โดยตรง แต่เป็นความสนใจเร่ืองวรรณกรรม เร่ืองของ                                 สุรนารี อีก ๖–๗ ปี ตอนนั้นท่านอาจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน 
เพลงพื้นบ้าน  ก็ท�ำให้ดนตรีของแต่ละคนท่ีเคยเล่นกันอยู ่                        ทา่ นไปแกไ้ ขหลกั สตู ร ทนี่ น่ั เขาเปน็ วศิ วะฯ หมดเลย ทา่ นบอก
แบบหนึ่ง ไดม้ ามหี นา้ ท่ที �ำอะไรอย่างอืน่ ดว้ ย คือเอาดนตรีไป                ว่าไม่ได้ ต้องมีแง่มุมของศิลปะ ของสุนทรียะด้วย ก็เลยได้ไป
คุยกับคนโน้นคนนี้ แทนที่จะเล่น เขมรไทรโยค เหมือนกัน                            ทำ� ตรงนน้ั   อยทู่ น่ี นั่  ๖–๗ ปกี ค็ ดิ วา่ ถงึ เวลาแลว้ เพราะวา่ ฐาน
ทุกคร้ัง เราก็เอาบริบท เอาเนื้อหาต่างๆ ไปใส่ในน้ัน เอา 
เขมรไทรโยค กลับไปสู่การสื่อสารในวิธีอ่ืน เอาไปเล่นให้ใคร

106 วัฒนธ รม
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113