Page 59 - CultureMag2015-2
P. 59

ส่วนความนิยมเกอบาญาในเมืองหลักของช่องแคบ                                 ความตน่ื ตวั เก่ยี วกบั การฟน้ื ฟอู ตั ลกั ษณท์ างวฒั นธรรม 
มะละกามีสาเหตุทแี่ ตกต่างออกไป  มาห์มูดกล่าวถึงความ                      ของเปอรานากันยังปรากฏให้เห็นในเมืองต่างๆ ในช่องแคบ
ประณีตของชิ้นงานทีจ่ ะต้องใช้เวลาในการตัดเย็บและการ                      มะละกา เชน่  การตง้ั สมาคมเปอรานากันในปนี ังและสงิ คโปร์ 
ปักลาย ตงั้ แต่ ๑ ถึง ๔ สัปดาห์ จนมีค�ากล่าวทีว่ ่า “ไม่มี               การประชุมนานาชาติทีส่ มาคมเปอรานากันในประเทศต่างๆ 
เกอบาญาสองชิน้ ทีจ่ ะเหมือนกัน” การถ่ายทอดเทคนิคการ                      จะเวียนกันเป็นเจ้าภาพ รวมทงั้ ในภูเก็ต การจัดพิมพ์หนังสือ
ตดั เย็บระหว่างรุ่นได้เสื่อมถอยลงในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ                  ทางประวตั ศิ าสตรอ์ กี เปน็ จ�านวนมากเพ่อื อธบิ ายความเปน็ มา
๑๙๗๐                                                                     และพัฒนาการของกลุ่มชาติพันธ์ุของตน รวมถึงการจัดตั้ง
                                                                         พิพิธภัณฑ์เปอรานากัน และเปิดบ้านมรดกให้แก่สาธารณชน
การฟน้ื ฟูวัฒนธรรมเกอบาญา                                                ทัว่ ไปได้ชื่นชมกับความวิจิตรของสถาปัตยกรรม การตกแต่ง
                                                                         ภายใน เครื่องแต่งกาย งานประดิษฐ์ งานสะสมเครือ่ ง
       ในสังคมภูเก็ตปัจจุบัน เสื้อเกอบาญาและโสร่งกลับ                    กระเบ้อื งเคลือบ และภาพเก่า 
มาอวดสายตาอีกครั้ง แม้จะไม่ได้เป็นเครื่องแต่งกายในชีวิต
ประจ�าวัน แต่เมือ่ มีงานส�าคัญต่างๆ คนพื้นเมืองภูเก็ตหรือ                      สง่ิ ตา่ งๆ เหลา่ น้ไี ดร้ บั การอธบิ ายเคยี งคไู่ ปกบั
ข้าราชการต่างขานรับกับการรือ้ ฟื้นลักษณะการแต่งกายท ี่                   ประวัติศาสตร์ของการผสมผสานข้ามวัฒนธรรม 
เคยเปน็ ท่ีนยิ มในพนื้ ที่                                               ระหวา่ งความเปน็ จนี และลกั ษณะพน้ื ถ่นิ ในคาบสมทุ ร
                                                                         มลาย ู    
       กระท่ังภเู กต็ เขา้ สยู่ คุ การทอ่ งเท่ยี ว ชาวภเู กต็ รนุ่ ใหม่
ก็ปรับตัวตามไป จนปัจจุบันแทบจะไม่มีการแต่งกายแบบ                         บรรณานุกรม
ด้งั เดมิ เหลอื อย ู่ นอกจากชดุ ไทยเคร่อื งแบบพนกั งานในโรงแรม
ท่ีตอ้ นรบั ชาวตา่ งชาต ิ และชดุ สตรแี บบบาบา๋ ตามงานเทศกาล              Endon Mahmood. The Nyonya Kebaya: A Showcase of 
อย่างไรก็ตาม ประมาณปี ๒๕๑๔ ได้มีการสอนท�าผ้าบาติก                          Nyonya Kebayas from the Collection of Datin Seri 
ในสถาบันการศึกษาเป็นครัง้ แรกทีส่ ถาบันราชภัฏภูเก็ต โดย                    Endon Mahmood. Singapore : Periplus, 2002.
การริเริ่มของอาจารย์ชูชาติ ระวิจันทร์ และอาจารย์สมชาย                    Khoo, Joo Ee. The Straits Chinese: A Cultural History. 
พรหมสุวรรณ ได้คิดค้นเทคนิคและสร้างแบบลายใหม่ๆ                              Amsterdam : Pepin Press, 1998.
โดยเฉพาะทวิ ทศั น์ใต้ท้องทะเล  อาจารย์ชูชาติเป็นผู้น�าภาพ                Khoo Salma Nusation. “Hokkien Chinese on the Phuket 
ปะการัง ดอกไม้ทะเล และหมู่ปลาขึน้ มาทา� เป็นแบบงาน                         Mining Frontier: The Penang Connection and the 
จติ รกรรมบาติกเปน็ ครง้ั แรก จนกลายเปน็ ลกั ษณะเฉพาะของ                    Emergence of Phuket Baba Community.” JMBRAS 82, 
บาติกภเู กต็ มาจนทกุ วันนี้                                                no. 2 (2009): 81-112.
                                                                         ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ. “โลกเปอรานากนั .” ใน พิพิธภัณฑ์สิงคโปร์, 
       ท้งั น้ ี ต้งั แตร่ าวป ี ๒๕๔๒ เปน็ ตน้ มา มคี วามพยายาม            บรรณาธกิ ารโดย ชวี สทิ ธ ์ิ บณุ ยเกยี รต,ิ  ๔๒-๗๗. กรงุ เทพฯ : ศนู ย ์
ทจี่ ะส่งเสริมให้พนักงานภาครัฐและเอกชนได้สวมใส่ชุดท ี่                     มานษุ ยวิทยาสริ นิ ธร (องค์การมหาชน), ๒๕๕๓.
ตัดเย็บด้วยผ้าบาตกิ ภูเก็ต หรือใช้ตกแต่งสถานทีเ่ พือ่ สร้าง              “มรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรมของชาต ิ พธิ ปี ระกาศขน้ึ ทะเบยี นมรดก 
บรรยากาศและเอกลักษณ์ขึน้ ในยุคการท่องเทีย่ ว มีการ                         ภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรมของชาต ิ ประจา� ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๕.” 
ส่งเสริมให้สตรีแต่งในงานทีเ่ กี่ยวกับประเพณีท้องถิ่นโดยการ                 กระทรวงวัฒนธรรม, ๑๔ ธนั วาคม ๒๕๕๕.
จัดของภาคเอกชนและประชาคมท้องถิ่น อาทิเช่น สมาคม                          ศรยทุ ธ เอย่ี มเออ้ื ยทุ ธ. “เปดิ โลกเปอรานากัน.” ใน คน-ของ-ทอ้ งถน่ิ  : 
ภเู กต็ เปอรานากัน                                                         เรือ่ งเล่า “สยามใหม่” จากมุมมองของชุมชน, บรรณาธิการโดย 
                                                                           ชวี สทิ ธ ์ิ บณุ ยเกยี รต,ิ  ๒๒๑-๒๔๑. กรงุ เทพฯ : ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยา 
                                                                           สิรนิ ธร (องคก์ ารมหาชน), ๒๕๕๕.
                                                                         “เอกสารการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ความรพู้ พิ ธิ ภณั ฑส์ า� หรบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน 
                                                                           พพิ ธิ ภณั ฑท์ อ้ งถ่นิ .” ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสริ นิ ธร (องคก์ ารมหาชน), 
                                                                           ๓๑ มนี าคม-๒ เมษายน ๒๕๕๓.

                                                                         เมษายน-มถิ ุนายน ๒๕๕๘ 57
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64