Page 58 - CultureMag2015-2
P. 58

เกอบาญา-ประณีตศลิ ป์                                      ผลิตต่างๆ เกิดเป็นชื่อเรียกทีแ่ ตกต่างกัน เช่น เกอบาญา บิก ุ
                                                          (kebaya biku) ท่ใี ชผ้ า้ พมิ พท์ ่นี า� เขา้ มาจากยโุ รปในชว่ งครสิ ต์

มาห์มูดกล่าวถึงการใช้เกอบาญาในวัฒนธรรม  ทศวรรษ ๑๙๓๐ และเกอบาญา ซลุ มั  (kebaya sulum) ท่ีเนน้  

เปอรานากันทีร่ ับมาจากชวา ซึ่งหญิงชวาเองอาจหยิบยืมมา การปักลาย (คา� วา่  ซลุ ัม หมายถึงงานปักลาย)

จากวัฒนธรรมอนื่ ด้วยเช่นกัน  นอกจากนี้ ยังมีการกล่าวอ้าง                  ทงั้ นี้ พัฒนาการของเกอบาญาในชัน้ หลังยังเกิด 

ถึงการหยิบยืมวัฒนธรรมการแต่งกายแบบเกอบาญานีจ้ าก  จากการใส่ลวดลายและการปรับแต่งล�าตัวของเสื้อให้เข้ากับ

เมอดาน สุมาตรา  หญิงย่าหยาในปีนังอาจเป็นกลุ่มแรกทนี่ �า ทรวดทรงของหญิงวัยสาว  จากเกอบาญา เรนดา ทีเ่ น้น 

วัฒนธรรมดังกล่าวมาแพร่หลายในกลุ่มจีนช่องแคบ และอีก ความสบายของผู้สวมใส่ หรือเรียกได้ว่าเป็นทรงตรงขนานไป

เช่นกันทีย่ ่าหยาในมะละกากล่าวถึงบรรพบุรุษทเี่ ริ่มต้น  กับล�าตัว กลายเป็นการตัดให้เข้ารูปช่วงเอวและปลายเสือ้ ที่

แต่งกายด้วยเกอบาญาทีห่ ยิบยืม                                             ผายออกขนานไปกับช่วงสะโพก 

จากวัฒนธรรมอืน่   ข้อเสนอ                                                 นอกจากน้ ี ยงั มกี ารเพ่มิ ลวดลาย

สดุ ทา้ ยเกยี่ วกับความนยิ มเครือ่ ง                                      การปักทีช่ ายเสือ้ ด้านหน้าและ

แตง่ กายเกอบาญาคอื ยา่ หยาตา่ ง                                           หลังให้มีความวจิ ิตรมากยิง่ ขนึ้

กลุ่มอาจรับอทิ ธพิ ลการแต่งกาย                                            การสวมใส่เกอบาญา

มาจากแหล่งต่างๆ แต่ได้รับการ                                              ปรากฏทัง้ ในชีวิตประจ�าวัน และ

พฒั นาตอ่ เนอ่ื งจนเปน็ เอกลกั ษณ์                                        ในพิธีการต่างๆ โดยยังมีองค์ 

ของกลุ่มเปอรานากนั                                                        ประกอบอื่นทีส่ า� คัญ ได้แก่ โสร่ง 

ค�าเรียกเกอบาญาใน                                                         เข็มกลัดส�าหรับกลัดเสือ้  เครื่อง

กลุ่มบาบ๋าภูเก็ตนั้นแตกต่าง                                               ประดับ กระเป๋าและรองเท้าที่

ออกไป “เส้อื ผา้ ลกู ไมส้ ้นั ประมาณ                                      เกิดจากการปักลูกปัดหลายสี

สะโพก ไม่มีเสื้อตัวใน เรียก                                               ขนาดเลก็ ๆ จนกลายเปน็ ลวดลาย 

‘ปั่วตงึ่ เต้’ มลายูเรียก เกอบาญา                                         ในอดีตนับเป็นงานฝีมือทีจ่ ะต้อง

(kebaya) แล้วก็เปลีย่ นเป็น                                               ได้รบั การฝึกฝนมาตง้ั แตเ่ ด็ก

ผา้ ลายฉลทุ รงรดั รปู แทนผา้ ลกู ไม ้  วำรสำร the Peranakan ตีพิมพ์โดย    มาห์มูดกล่าวเพิม่ เติม
                                       สมำคมเปอรำนำกนั ในสิงคโปร ์
ปัจจุบันยังมีผู้สูงอายุสวมใส่อยู่      (Peranakan Association Singapore)  ดว้ ยวา่ ความงดงามของเกอบาญา 
บา้ ง”                                 ฉบบั ฉลอง ๒๐ ปี ของสมำคม           ยังขึน้ อยู่กับการเลือกสวมใส่ให้
                                                                          เข้ากับโสร่ง เกอบาญาจึงมิใช่
       อยา่ งไรกด็ คี วามเปล่ยี น 

แปลงของเกอบาญามิใช่เฉพาะการเปลี่ยนแปลงวัสดุทใี่ ช้ เพียงสัญลักษณ์ทแี่ สดงให้เห็นความวิจิตรของชิ้นงานในการ

เทา่ นน้ั  หากแตด่ า� เนนิ มาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง  มาหม์ ดู ใหค้ า� อธิบาย ประดิษฐ์ หากแต่ยังเป็นเครื่องหมายของความมีรสนิยมของ

เกีย่ วกับพัฒนาการช่วงแรกของเกอบาญา “เนียยาเรียก  สตรที ่ีรู้จกั เลือกสรรแพรพรรณทีเ่ หมาะสมตงั้ แต่หวั จดเทา้

เกอบาญา เรนดา (kebaya renda) (คา� ว่า เรนดา หมายถึง                       สมหมาย ปน่ิ พุทธศลิ ป ์ และ ฤด ี ภมู ภิ ถู าวร สมาชกิ

ผา้ ลกู ไม)้  ลกั ษณะเปน็ ผา้ โปรง่  สพี ้นื  และมกี ารปกั ลกู ไมท้ ่ีสาบ กลมุ่ ผสู้ นใจประวตั ศิ าสตรเ์ มอื งภเู กต็  ใหข้ อ้ มลู ไวแ้ กพ่ พิ ธิ ภณั ฑ์

เสื้อ ชายแขนเสือ้  และบริเวณชายเสื้อด้านหน้าและด้านหลัง  ภเู กต็ ไทยหวั วา่  “ในชว่ งหลงั สงครามโลกคร้งั ท่ ี ๒ ดว้ ยนโยบาย

จึงกลายเปน็ ท่มี าของคา� วา่  เกอบาญา เรนดา”              ชาตินิยมในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม การแต่งกายแบบ

นอกจากนี้ ยังมีการปรับใช้ผ้าและเทคนิคในการ  ท้องถิ่นจงึ จางไป” 

56 วฒั นธ รม
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63