Page 61 - CultureMag2015-2
P. 61
จั ก ร ว ำ ล ทั ศ น์
เรือ่ ง : กฤช เหลอื ลมัย
ภาพ : ฝา่ ยภาพนติ ยสาร สารคดี
“เป็นทีร่ ู้จักมำกที่สุดของวัฒนธรรมชนชำติลำว ภำยหลัง
กำรยดึ ดนิ แดนฝั่งขวำแม่น�้ำโขงแลว้ ตอ่ มำส้มตำ� ไดก้ ลำย
เป็นอำหำรไทยอย่ำงหนึง่ ด้วย และเป็นที่นิยมแพร่หลำย
ไปทัว่ ทุกภูมิภำค กลำยเป็นอำหำรที่มีชือ่ เสียงของไทย
ควบคกู่ บั ผดั ไทยและตม้ ยำ� กงุ้ ...” (วกิ ิพเี ดยี , มกราคม ๒๕๕๘)
บางครัง้ การพยายามสร้างภาพบางอย่างในอดีตผ่าน
หลักฐานโบราณคดี ผสมเอกสารประวัติศาสตร์ โดยอาศัย
ความคนุ้ ชนิ ในปจั จบุ นั กอ็ าจจะไดภ้ าพท่ีประหลาดๆ พลิ กึ ๆ
เอาการอยู่
เช่นถ้าเราเกิดอยากรู้ว่า “ส้มต�า” ทเี่ รากินกันทุกวันนี้
เริ่มต้นมาจากไหนแน่ ทีเ่ ราทา� (หลังจากคลิกดูข้อมูลจาก
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี) ก็มักจะคือเริ่มมองหา “ครก” ใบ
แรกๆ ก่อน
ครกดินเผาใบย่อมๆ นั้นพบได้ทัว่ ไปตามแหล่ง
โบราณคดีสมัยอยุธยา โดยเฉพาะถ้านักโบราณคดีไปขุดค้น
เตาเผาถ้วยชาม ก็จะเจอครกดินเผาขนาดต่างๆ เสมอ อย่าง
เช่นทีเ่ ตาสามโคก ปทมุ ธานี หรือเตาแม่น�้าน้อย สิงห์บุรี...ทนี ี้
กด็ เู หมอื นวา่ เราจะเรม่ิ ตกี รอบไดน้ ดิ ๆ แลว้ ใชไ่ หมครบั วา่ สม้ ตา�
น่าจะเร่มิ ต�ากันในสมัยนน้ั เองกระมงั
: นวัตกรรมในครกไม้
เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๘ 59