Page 55 - CultureMag2015-2
P. 55

เมื่อปี ๒๕๕๕ เครื่องแต่งกายบาบ๋า - เปอรานากัน ของ                         ด้านหน้าแบะออกส�าหรับติดโกสัง (เข็มกลัดชิ้นใหญ่เป็นชุดมี 
ชาวภูเก็ต ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทาง                        ๓ ตวั  ตวั แมม่ รี ปู รา่ งคลา้ ยหวั ใจ มตี วั ลกู เปน็ ตวั กลมๆ อกี สอง
วฒั นธรรมของชาต ิ ในประเภทแนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คม พธิ กี รรม               ตวั ) นยิ มนุ่งผา้ ปาเตะ๊ ปักเลอื่ มและนงุ่ เขา้ รูป”
และงานเทศกาล  
                                                                                 อย่างไรก็ตาม หากพิจารณากันใหด้ จี ะเหน็ ว่าเคร่ือง
       ในเอกสารดงั กลา่ ว ระบปุ ระวตั คิ วามเปน็ มาไวอ้ ยา่ ง             แต่งกายดังกล่าวมีลักษณะร่วมกับวัฒนธรรมมลายูหลาย
ยน่ ยอ่  “บาบา๋  หรอื เปอรานากนั  คอื กลมุ่ ชนท่มี เี ชอ้ื สายจนี และ     ประการ  เครื่องแต่งกายดังกล่าวมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่อง
มลายู มีวัฒนธรรมทไี่ ด้รับอิทธพิ ลจากวัฒนธรรมของจีนและ                    จนกลายเปน็ เอกลกั ษณข์ องกลมุ่ บาบา๋ น้นั  ปรากฏลกั ษณะของ
มลาย ู  ชาวบาบา๋ ในจงั หวดั ภเู กต็ มที ่มี าจากกลมุ่ พอ่ คา้ ชาวจนี      ความเปล่ยี นแปลง ท้งั วสั ด ุ การตดั เยบ็  การปกั ลวดลาย หรอื
โดยเฉพาะกลมุ่ ชาวจนี ฮกเก้ยี นท่เี ดนิ ทางเขา้ มาคา้ ขายบรเิ วณ           กระท่ังลดความนยิ มในการสวมใสใ่ นชวี ติ ประจา� วนั  ผเู้ ขยี นจงึ
คาบสมุทรมลายู และกลุ่มชาวจีนฮกเกีย้ นทีม่ าจากปีนังและ                    เรียบเรียงให้เห็นความเปลี่ยนแปลงของเสือ้ เกอบาญาอันเป็น
มะละกา โดยได้หลัง่ ไหลเข้ามาอยู่ในมณฑลภูเก็ตในช่วง                        ส่วนประกอบหนึ่งของชุดย่าหยา โดยน�าเสนอให้เห็นตัวอย่าง
รัชสมัยรัชกาลที ่ ๓ ถึงรัชกาลที ่ ๕ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์                เปรยี บเทยี บประกอบกนั  และจะเช่อื มโยงใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธ์
ท�าให้เกิดการผสมผสานทางเชือ้ ชาติและวัฒนธรรมระหว่าง                       กับ “จีนช่องแคบ” (Straits Chinese) หรือกลุ่มเปอรานากัน 
ชาวจนี และคนทอ้ งถน่ิ ” จากนน้ั  เอกสารดงั กลา่ วใหข้ อ้ มลู เพ่มิ        ในปนี งั  มะละกา และสิงคโปร ์ กบั บาบา๋ ในภูเก็ตด้วย
เตมิ เกี่ยวกับการแต่งกายไว้สี่ลักษณะ ประกอบด้วย ชุดเสือ้
คอต้งั แขนจบี  ชดุ ยา่ หยา ชุดคหบดี และชดุ เจา้ บ่าวเจ้าสาว               เกคอ่ รนื่อเงปแน็ ตเ่งกกอาบยาญา

       จากข้อมูลเบื้องต้นดังกล่าว สะท้อนให้เห็นความ                              เอกสารในวาระพิธปี ระกาศมรดกภูมิปัญญา กล่าว
สมั พนั ธส์ ามลกั ษณะระหวา่ งเคร่อื งแตง่ กายบาบา๋ -เปอรานากนั            ถงึ  “ชดุ เส้อื คอต้งั แขนจบี  : โดยสวมเส้อื ผา่ หนา้ ตดิ กระดมุ ทอง
ทีไ่ ด้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม                      หรือเข็มกลัดแถว ความยาวระดับเอวที่ขอบชายเสื้อแต่งด้วย
ของชาต ิ คอื  หนง่ึ  เครอ่ื งแตง่ กายสะทอ้ นใหเ้ หน็ ประวตั ศิ าสตร์      ลูกไม้ คอเสื้อตั้ง แขนเสือ้ ยาวจีบปลายแขน มีกระเป๋าใบใหญ่
การเคลื่อนย้ายผู้คนและการลงหลักปักฐาน  สอง เครือ่ ง                       สองขา้ ง นงุ่ ผา้ ปาเตะ๊  และใชใ้ นการดา� เนนิ ชวี ติ ” โดยไมไ่ ดร้ ะบุ
แต่งกายแสดงให้เห็นแบบแผนปฏิบัติทางสังคมในวาระต่างๆ                        ว่าเปน็ ประเภทเคร่อื งแต่งกายท่ีพน้ ยุคสมัย อยา่ งไรกต็ าม ใน
เช่น ชีวิตประจ�าวัน พิธแี ต่งงาน และสาม เครื่องแต่งกาย                    งานเทศกาลพพิ ธิ ภณั ฑท์ อ้ งถน่ิ  คร้งั ท่ี ๒ ของศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยา 
กลายเปน็  “หลกั หมาย” ของการบง่ ช้อี ตั ลกั ษณท์ างวฒั นธรรม              สริ นิ ธร (องคก์ ารมหาชน) ศรยทุ ธ เอ่ยี มเออ้ื ยทุ ธ สรปุ ประเดน็  
                                                                          การอภปิ รายเก่ยี วกบั วถิ ชี วี ติ เปอรานากนั ในภเู กต็ เกย่ี วกบั การ
       ในท่นี ้ ี ผเู้ ขยี นประสงคบ์ อกเลา่ เร่อื งราวของ kebaya          แตง่ กายไวว้ า่  
(ในทน่ี ี้จะออกเสยี งวา่  เกอบาญา) เป็นการเฉพาะ 
                                                                                 “วิวัฒนาการชุดแต่งกายของสตรีย่าหยา เริม่ จากชุด
       เกอบาญาเปน็ คา� เรยี กลกั ษณะของเส้อื ท่ผี หู้ ญงิ ยา่ หยา         ครุย ภาษามลายูเรียก บาจู ปันจัง (Baju Panjang) เป็นเสื้อ 
เคยใชส้ วมใสใ่ นชวี ติ ประจ�าวนั  หรอื ท่ีเอกสารของกรมสง่ เสรมิ           คลุมยาวครึง่ น่องแขนยาว ท�าด้วยผ้าป่านรูเบีย ผ้าฝ้าย หรือ
วัฒนธรรมใช้ว่า “ชุดย่าหยา” ซึ่งประกอบด้วยเสือ้ เกอบาญา                    ผา้ ตว่ นมสี สี นั  สวมทบั เส้อื ส้นั คอตง้ั สขี าว กระดมุ สที อง (กมิ ตนู้ ) 
และโสร่ง รวมท้ังเครือ่ งประดบั  โดยให้อรรถาธิบายไวด้ งั นี้               สามเม็ด น่งุ โสร่งปาเตะ๊  เปน็ ชุดแตง่ กายในโอกาสพเิ ศษ” 

       “ตัวเสอ้ื ตดั ดว้ ยผา้ ลกู ไมห้ รอื ผา้ ปา่ นรเู บยี  โดยตดั เยบ็
แบบเข้ารูปแขนยาว ปักฉลุลายดอกไม้ทงั้ ทีค่ อเสือ้  ชายเสื้อ
และปลายแขน ตัวเสื้อด้านหน้าปลายแหลมยาวแบบเสื้อของ
สตรีมุสลิม ความยาวตัวเสื้อจะอยู่ระดับสะโพกบน ปกเสื้อ

                                                                          เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๘ 53
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60