Page 62 - CultureMag2015-2
P. 62

แล้วตามความเคยชินของเรา ส้มตา� ก็ต้องใช้มะละกอ                  “ต�ำไทยต�ำลำว กินกับข้ำวเหนยี วคือกัน หำกกินทุกวัน
ซึง่ ไม่ใช่พืชพืน้ ถิน่ มันมาจากอเมริกากลาง แพร่เข้ามากับเรือ         จะปนั้ ไทยให้เจริญๆ ...”
สา� เภาฝรง่ั ในชว่ งปลายอยธุ ยาเปน็ อยา่ งเรว็ ดงั ท่นี กั โบราณคดี
เคยพบเมลด็ มะละกอจากการขดุ คน้ ช้นั ดนิ ในพระราชวงั โบราณ                   (เพลง หนุ่มตา� ลาวสาวตา� ไทย, โจนสั - ครสิ ตี้)
อยธุ ยาเมอ่ื ราวสิบกว่าปีก่อน
                                                                            ส้มต�าทีร่ ู้จักกันทกุ วันนี้น่าจะมีทีม่ าจากหลายทาง
      มะขามเปยี ก ถว่ั คา้ ง (ถ่วั ฝกั ยาว) นา่ จะเปน็ พชื พน้ื ถน่ิ  ดว้ ยกัน
แถบนี้มาแต่เดิม กุ้งแห้งก็มีรายชื่อเป็นสินค้าจากชายทะเลส่ง
เขา้ มาขายยังดินแดนตอนในตง้ั แตส่ มัยอยุธยา                                 ผคู้ นในอษุ าคเนยโ์ บราณมอี าหารปรงุ สดหรอื ลวกท่ีกนิ
                                                                      กนั สบื มาจนปจั จบุ นั คลา้ ยๆ กนั อยา่ งเชน่ จบุ๊ ผกั ของคนไทดา�
      ส่วนพริกขีห้ นูแพร่เข้ามาตัง้ แต่ราวต้นพุทธศตวรรษที่            ทคี่ ลุกเคล้า (จุ๊บ) ผักลวกกับเครื่องปรุงให้เข้ากัน ลองนึกถึง
๒๓ ก่อนมะละกอนดิ หน่อยด้วยซ�า้                                        วา่ ถ้าเอาลงครกต�า มันกแ็ ทบจะคือส้มตา� นน่ั เอง

      แคเ่ อาหลกั ฐานพวกนม้ี าประมวลสรา้ งภาพข้นึ ภาพท่ี                    คนลาวและคนอีสานมี “ต�า” ทีเ่ ป็นส�ารับกินกันทัว่ ไป
ได้นี้ก็ขัดแย้งกับนิยามของวิกิพีเดียทีด่ ูเป็นค�าอธบิ ายแบบเจ้า       โดยต�าของทีจ่ ะกินผสมเครื่องปรุงในครกไม้หรือครกดินเผา
อาณานิคมล่าเมอื งข้ึนภายในอุษาคเนย์โดยสิน้ เชิงเสียแล้ว               เรยี กช่อื ตามของท่เี อามาตา� เชน่ ตา� ถว่ั ตา� แตง ตา� สมอ ตา� กบ
                                                                      ฯลฯ และหากของทตี่ �านัน้ เปรีย้ ว ก็เรียก “ต�าส้ม” เป็นทมี่ า
      แต่ทีป่ ระหลาดไปกว่านัน้ ก็คือในตา� ราอาหารฉบับ                 ของความงุนงงสงสัยระหว่างคนอีสานกับคนภาคอื่นๆ (โดย
โบราณของดินแดนแถบนีท้ ยี่ ้อนหลังไปเกินกว่าหนึง่ ศตวรรษ               เฉพาะภาคกลาง) เสมอมาถึงการสลับทกี่ ันของค�าว่า “ส้ม”
กลับไมพ่ บส�ารับอาหารอะไรทหี่ น้าตาใกล้เคียงสม้ ต�าเอาเลย             กบั “ตา� ” ในอาหารทีต่ า่ งฝ่ายก็เชอ่ื ว่าเปน็ ชนดิ เดียวกนั

      ตา� ราลาวหลวงพระบางของเพยี สงิ จะเลนิ สนิ มที ่ีใกล้                  ส่วนข้อสันนิษฐานอีกประการหนึง่ ก็คือส้มต�า “ไทย”
เคียงทส่ี ุดกค็ ือย�ามะเขอื ขน่ื แตก่ ไ็ ม่ไดต้ า� ในครก              นั้น อาจขยายตัวขึน้ ในราชส�านักกรุงเทพฯ จากอาจาดถ้วย
                                                                      เลก็ ๆ ในชดุ อาหารมสุ ลมิ โดยเฉพาะหากพจิ ารณาอาหารไทย
      แม่ครัวหัวป่าก์ ต�าราไทยกรุงเทพฯ ของท่านผู้หญิง                 ส�ารับส�าคัญ คือข้าวมันส้มต�า ซึ่งประกอบด้วยข้าวหุงกะทิ
เปลี่ยน ภาสกรวงศ์ มี “ปูต�า” ทีฟ่ ังดูคล้ายต�ามะขามใส่ปูนา            แกงเผด็ ไก่ เนอ้ื เคม็ ฉกี ฝอยผดั น้า� มนั โรยหอมเจยี ว และสม้ ตา�
เค็ม กงุ้ แห้ง เหมือนน้า� พริกมะขามมากกวา่ สม้ ตา�                    มะละกอแบบไทย ก็จะเห็นว่านี่เป็นการกินอาหารชุดตาม
                                                                      อทิ ธิพลวฒั นธรรมมสุ ลมิ อยา่ งแนน่ อน โดยสม้ ตา� รสเปร้ยี วเผด็
      ชวนใหส้ งสยั วา่ แลว้ “หม่หี มแู นมแถมสม้ ตา� ทา� ไมเ่ บาฯ”     เจือหวานจานหลักนัน้ คงถูกปรับเปลีย่ น ขยายขนาดความ
ในนิราศบางยี่ขัน ของคุณพุ่ม กวีหญงิ นามอโุ ฆษ (ปี ๒๔๑๒)               สา� คญั ขน้ึ จากถว้ ยอาจาด ตามความพงึ ใจในรสของลน้ิ คนไทย
น้นั จะมีหน้าตาอยา่ งไรแน่                                            ภาคกลาง

      หรอื วา่ “สม้ ต�า” สมยั ศตวรรษท่ีแลว้ แคเ่ พยี งรอ้ ยกวา่ ปี
เท่านัน้ จะไม่ได้มีหน้าตาอย่างทเี่ ราเห็นในปัจจุบัน...กระทัง่
อาจไม่เคยมอี ยู่จริงในตอนน้นั ?

60 วัฒนธ รม
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67