Page 44 - E-Book Culture 02_20182
P. 44
กระดาษและไม้ไผ่สีสุก ผสานกับภูมิปัญญาสร้างสรรค์ การต่อสู้ ด้วยการต่อสู้ของจุฬา ปักเป้า มีกติกาการแข่งขันที่ยุติธรรม
อันแหลมคมของบรรพบุรุษไทย จะสร้างสีสันความสนุกเร้าใจ จึงเป็นการต่อสู้กันบนฟากฟ้าที่ออกรสออกชาติ ท�าให้คนดูหรือ
ได้ถึงเพียงนี้ กองเชียร์ที่มีส่วนได้เสีย มีความสนุกสนาน ในอดีตจึงมีผู้คน
นับพันไปชุมนุมชมกันที่เส้นกลางแบ่งแดนจุฬา-ปักเป้า มากมาย
จุฬา ปักเป้า เอาชนะกันอย่างไร การเล่นว่าวจุฬาและปักเป้าจึงได้รับการอุปถัมภ์จากเจ้านาย
สมรภูมิของ จุฬา ปักเป้า แบ่งออกเป็นสองฟาก คือ ฟาก ชั้นสูง ไม่ผิดกับการอุปถัมภ์คณะละครส่วนตัวของเจ้านาย
ว่าวจุฬา และฟากว่าวปักเป้า ว่าวจุฬา เป็นว่าวรูปดาวห้าแฉก ในสมัยก่อน เมื่อถึงฤดูกาลเล่นว่าว ก็ยกวังกันออกไปประชันว่าว
หรือมะเฟืองผ่าฝาน ขนาดใหญ่ ส่วนว่าวปักเป้า เป็นว่าวรูป เอาเงินพนันเอารางวัลกันอย่างเอิกเกริก
สี่เหลี่ยมคล้ายขนมเปียกปูนมีขนาดเล็กกว่าว่าวจุฬามาก มีการ
เปรียบเทียบว่าว่าวจุฬาคือ ผู้ชาย และว่าวปักเป้าเป็นผู้หญิง ว่าวไทย ต่างชนิด หลากภูมิสถาน หลายภูมิปัญญา
เพราะรูปร่างที่ใหญ่กว่ากันมาก แม้กระทั่งลีลาและเรี่ยวแรงการ “ว่าว” ในภาษามอญแปลว่าหนาว “ลมว่าว” จึงหมายถึง
ต่อสู้ ว่าวจุฬาก็จะเป็นฝ่ายพุ่งเข้าใส่อย่างหนักแน่นด้วยน�้าหนัก ลมหนาวที่พัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ในต้นฤดูหนาว ระหว่างเดือน
ล�าหักล�าโค่น ส่วนว่าวปักเป้านั้นมักจะใช้ลีลา ยั่วเย้า ล่อหลอก กันยายน - พฤศจิกายน เป็นระยะที่เก็บเกี่ยวข้าวเบา บางที่เรียก
และหลบหลีก สู้พลางถอยพลาง เหมือนลีลาการจีบกันของผู้ชาย ว่า “ลมข้าวเบา” (ซึ่งเป็นระยะมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
ผู้หญิง แต่ต่างมีอาวุธร้ายแรงเท่าเทียมกันคนละอย่าง ปักเป้า มี พัดปกคลุมประเทศไทย น�าพาความหนาวเย็นจากภาคใต้ของจีน
เหนียงเป็นเส้นเชือกผูกโยงตกท้องช้างใต้คอซุงเป็นบ่วงไว้ ผู้ชัก สู่ไทย) ส่วนลมที่พัดจากอ่าวไทยขึ้นมาตามที่ราบลุ่มแม่น�้า
ว่าวปักเป้าจะตั้งใจชักให้เหนียงนี้เป็นเป้าล่อให้ว่าวจุฬาพุ่งเข้าไป เจ้าพระยา จากทิศใต้ไปทิศเหนือในฤดูร้อน ระหว่างเดือน
ติด ถ้าแฉกใดแฉกหนึ่งในห้าแฉกของว่าวจุฬาพุ่งเข้าไปติดเหนียง กุมภาพันธ์ - เมษายน เรียกว่า “ลมตะเภา” (ซึ่งเป็นระยะที่มรสุม
ว่าวจุฬาก็จะติดไปไม่ออก เหมือนปลาที่ติดตาข่าย จะเสียการ ตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย) คนไทยนิยมเล่นว่าว
ทรงตัวพุ่งตกลงดินอย่างเดียว คนชักว่าวปักเป้าเก่งๆ ไม่เพียง กันในหน้าหนาว เพราะลมแรง สามารถส่งว่าวให้ลอยขึ้นไปใน
แต่จะชักให้เหนียงเป็นเป้าล่อให้จุฬาผิดพลาดเข้าไปติด ยัง อากาศได้เกือบทั้งวัน ยกเว้นแต่ที่ท้องสนามหลวง จะมีการเล่น
สามารถชักให้ว่าวปักเป้าเอาเหนียงไปไล่ครอบหัวว่าวจุฬาได้ ว่าวในเฉพาะฤดูร้อนเท่านั้น เพราะลมจะพัดว่าวไปทางสะพาน
อีกด้วย ส่วนว่าวจุฬาก็จะมีจ�าปาสามดอกติดเรียงไว้ใกล้คอซุง พระปิ่นเกล้าฯ หากเล่นในฤดูหนาว ว่าวอาจลอยไปติดยอด
เป็นอาวุธ จ�าปาจะท�าหน้าที่เป็นตะขอเกี่ยวเชือก หาง หรือ ปราสาทราชมณเฑียรได้ ซึ่งรัชกาลที่ ๔ เคยทรงห้ามเอาไว้ ส่วน
ตัวว่าวปักเป้าเอาไว้ ถ้าเกี่ยวได้ก็จะท�าให้ว่าวปักเป้าเสียการ ในชนบททั้งภาคเหนือและอีสานยังนิยมเล่นว่าวในหน้าหนาว
ทรงตัวตกลูกเดียวเหมือนกัน พอเกี่ยวปักเป้าติด ว่าวจุฬาก็จะดึง ผู้ที่เล่นว่าวดุ๊ยดุ่ยสามารถปล่อยว่าวไว้ตลอดทั้งคืนโดยที่ว่าว
ตัวเองกลับแดนอย่างเต็มแรง พาเอาว่าวปักเป้าที่ถูกเกี่ยวติดจ�าปา ไม่ตกลงสู่พื้นเลย เสียงว่าวดุ๊ยดุ่ยจะดังไปตามจังหวะลม ผสมเป็น
ติดตัวกลับมาด้วย แม้ปักเป้าจะพยายามชักว่าวลงอย่างเต็มที่ เสียงดนตรีธรรมชาติไพเราะยิ่งนัก ถ้าสังเกตุให้ดีจะเห็นว่าว่าวไทย
ก็จะสู้แรงดึงของจุฬาไม่ได้ ในแต่ละภาคยังมีส�าเนียงที่แตกต่างกันอีกด้วย
สรุปก็คือ จุฬาก็จะพยายามชักว่าวให้จ�าปาของตัวไปคว้า ว่าวมีรูปแบบแตกต่างกันตามแต่ละท้องถิ่น แต่ที่นิยม
ตัวว่าวปักเป้าส่วนหนึ่งส่วนใดให้ได้ และปักเป้าก็จะพยายามชักว่าว เล่นกันในทุ่งราบภาคกลาง ก็คือ ว่าวดุ๊ยดุ่ย ว่าวอีแพรด ว่าวอีลุ้ม
ให้เหนียงของตัวเองไปรัดส่วนหนึ่งส่วนใดของตัวว่าวจุฬาให้ได้ ว่าวงู ว่าวนกยูง ว่าวผีเสื้อ เป็นต้น ส่วนภาคเหนือและภาคอีสาน
ถ้าฝ่ายใดเพลี่ยงพล�้าไปตกอยู่ในอาวุธร้ายของคู่ต่อสู้ก็จะเกิด นิยมเล่นว่าวสองห้อง หรือที่ภาคกลางเรียกว่า ว่าวดุ๊ยดุ่ย (คล้าย
อาการควบคุมการลอยตัวไม่ได้ ไปต่อไม่ออก ตั้งท่าจะตกลงจาก ว่าวจุฬา ต่างกันที่ว่าวดุ๊ยดุ่ย มีปีกขนาดเล็กแทนขากบของว่าว
ฟ้าอย่างเดียว ว่าวจุฬาตัวใหญ่อาจใช้คนวิ่งรอกเป็นสิบ แต่ว่าว จุฬา ส่วนหัวมักจะผูกธนูหรือสะนู ทางภาคใต้เรียกว่าแอก ท�าให้
ปักเป้าใช้เพียงแค่ ๒ คนเท่านั้น เกิดเสียงดังกังวาน ว่าวอีลุ้ม (หรือว่าวอีลุ่ม คล้ายว่าวปักเป้า
42