Page 41 - E-Book Culture 02_20182
P. 41
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน ยังมีความสัมพันธ์กับวิถี
การมหรสพของคนไทยภาคกลางเรามาโดยตลอด เริ่มแรกจาก
การเป็นเรื่องเล่าที่ใช้ในการขับล�าน�า ยกระดับขึ้นเป็นการขับที่มี
ลักษณะจ�าเพาะมากขึ้น กลายเป็นการขับเสภาที่มีการขยับกรับ
ประกอบ ต่อมาก็มีการน�าปี่พาทย์เข้ามาบรรเลงรับ ท�าให้มีการ
ขับเสภาพร้อมปี่พาทย์ ในสมัยรัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ที่ ๕ มีการน�าละครรร�าเข้ามาผสม จนเกิด
เสภาร�า ละครเสภา การแสดงลิเกชาวบ้าน และกลายเป็นละคร
พันทาง ที่อยู่ในความนิยมของสังคมไทยมาอย่างยาวนาน
จนกระทั่งยุคปัจจุบัน ขุนช้างขุนแผน ยังได้ถูกน�าไปสร้างเป็น
บทละครโทรทัศน์ สร้างเป็นภาพยนตร์ไทย หลายต่อหลายหน
เรื่องที่เป็นภาพจ�าของผู้คนในอดีตอย่าง ละครโทรทัศน์เรื่อง
ขุนแผนผจญภัย เป็นต้น ปิดเรื่อง ขุนช้างขุนแผน พลายชุมพลจับจระเข้เถรขวาด
และในวันนี้เมื่อการสื่อสารของโลกก้าวมาถึงยุคสมัย ครานั้นเจ้าพลายชายชุมพล ฤทธิรณสามารถดังราชสีห์
แห่งสังคมดิจิตอล ๔.๐ เรื่องของขุนช้างขุนแผนในวันนี้ก็ได้รับ เห็นกุมภามาใกล้ก็ได้ที แทงกุมภีล์ดังฉาดเลือดสาดไป
การปรับเปลี่ยนไปในอีกรูปแบบหนึ่ง การพิมพ์หนังสือแบบเป็น จระเข้เถรถูกแทงก็แว้งหาง เสียงโผงผางแพป่นไม่ทนได้
เล่มใหญ่ปกแข็งที่เก็บในห้องสมุดมีน้อยลงไป ขุนช้างขุนแผน ชุมพลตกจากแพคนแซ่ไป พระทรงภพตกพระทัยพันทวี
กลับเป็นหนังสือปกอ่อนที่เล่าเรื่องแนว
วิพากย์วิจารณ์ไม่เต็มเรื่อง มีการเข้าไป
น�าเสนออยู่ในเว็บไซต์ต่างๆ เป็นตอนๆ
เป็นเรื่องเล่าอย่างย่อ และเป็นหนังสือ
ภาพวาด และเป็นภาพยนตร์การ์ตูน
เป็นแบบเรียนว่าด้วยวรรณกรรมไทยต่างๆ
อีกมากมาย
และแม้ในปัจจุบันเรื่องขุนช้าง ขุนแผน
จะไม่ค่อยปรากฏในสื่อร่วมสมัยต่างๆ แล้ว
แต่บุคลิกและบทบาทที่โดดเด่น ของนักแสดง
บางตัวในละครโทรทัศน์เรื่องดังๆ ในปัจจุบัน
เช่น เรื่อง บุพเพสันนิวาส ตัวแม่หญิงการะเกด
ในภาคร้าย ก็เรียกว่า แทบจะถอดแบบออก
มาจากภาพนางสร้อยฟ้าในเรื่องขุนช้าง
ขุนแผนเลยทีเดียว
พลายชุมพล เตรียมกองทัพหุ่นผี นิทานเรื่องขุนช้างขุนแผน ได้รับการขึ้นบัญชีเป็นมรดก
ได้ฤกษ์แล้วเบิกโขลนทวาร โอมอ่านพระเวทวิเศษจัด
แล้วหยิบเอาข้าวสารมาหว่านซัด เร่งรัดเรียกผีทุกต�าบล ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจ�าปี พ.ศ. ๒๕๕๓
บรรดาภูตผีที่ถ�้าหนอง ห้วยคลองป่าไม้ไพรสณฑ์
ต่างกู่ก้องร้องเรียกกันอลวน ด้วยกลัวมนตร์รีบมาไม่ช้าที ขอขอบคุณ : วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี
เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑ 39