Page 45 - E-Book Culture 02_20182
P. 45
จุฬาคว้าไปเจอเหนียงปักเป้า รัดเข้าทั้งตัว ไปไม่รอด
พุ่งหัวปักตกพื้นอย่างรวดเร็ว ยิ่งดึงแรงยิ่งตกเร็ว
แต่มีพู่ห้อยสองข้าง) ว่าวสนูหวาย ว่าวประทุน ปลาโทดโทง ว่าวไทยมีความเป็นมาอย่างไร
ว่าวนก เป็นต้น ภาคตะวันออกนิยมเล่นว่าวหาง ว่าวหัวแตก ว่าวเป็นการละเล่นของคนทั่วไปเกือบทุกชนชาติมาแต่
อีลุ้ม ว่าวดุ๊ยดุ่ย ว่าวใบมะกอก ภาคใต้นิยมเล่น ว่าวขึ้นสูง ว่าว ดึกด�าบรรพ์ นิยมเล่นกันมากในแถบเอเชีย ประเทศจีนมีการ
พอเพียง ว่าวนกปีกแอ่น ว่าวนกยูง ว่าวปลาวาฬ ว่าวใบยาง ฯลฯ เล่นว่าวมานานกว่าสองพันปี ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่น ส่วนใน
แต่ที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ทางภาคใต้ คือ ว่าววงเดือน หรือว่าว ประเทศไทยเองนั้น มีปรากฏอยู่ในวิถีชีวิตของคนไทยมา
บุหลัน (ภาษามลายู เรียกว่า วาบูแลหรือวาบูลัน แปลว่า ดวงจันทร์ แต่โบราณ นับตั้งแต่ชาวบ้านจนถึงพระมหากษัตริย์ ตามหลัก
ปลายว่าวเป็นรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวเสมือนเป็นสัญลักษณ์ของ ฐานที่ปรากฏ คนไทยรู้จักการเล่นว่าวมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย
ศาสนาอิสลาม) ว่าวหัวควาย หรือว่าวควาย ซึ่งเป็นว่าวที่เกิดจาก ในพงศาวดารภาคเหนือกล่าวถึงพระร่วงว่า “...พระยาร่วงนั้น
การผสมผสานระหว่างว่าวหลา (จุฬา) กับว่าววงเดือน แต่ คะนองนัก มักเล่นเบี้ยและว่าว ไม่ถือตัวว่าเป็นท้าวพระยา
ดัดแปลงหัวเป็นรูปควาย ซึ่งเปรียบเสมือนว่าวดุ๊ยดุ่ยของ เสด็จไปไหนก็ไปคนเดียว...” ทั้งยังมีต�านานว่าวพระร่วง-พระลือ
ภาคกลาง ว่าวควายนิยมเล่นมากในสตูลจนแทบจะกลาย ซึ่งเป็นเรื่องเล่าปรัมปราคติ กล่าวขานกันอยู่ทางภาคเหนือ
สัญลักษณ์ของจังหวัดไปแล้ว เซียนว่าวควายที่นับได้ปัจจุบัน ว่ามีกษัตริย์สองพี่น้องแห่งเมืองศรีสัชนาลัยโปรดปรานการ
เหลือเพียงไม่กี่คน อาทิ นายเวียง ตั้งรุ่น หรือ ลุงเวียง (ผู้มีผลงาน เล่นว่าวเป็นอย่างมาก ในวันหนึ่งที่พระร่วงทรงว่าวอยู่นั้น ว่าว
ดีเด่นทางวัฒนธรรมจังหวัดสตูล) ด.ต.ประเทือง ศรีสว่าง ได้ขาดและตกไป พระร่วงตามว่าวไปจนท�าให้ได้พบสาวสวย
(จ่าเทือง) ส่วนใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ นิยมเล่นว่าวเบอร์ นางหนึ่ง บังเกิดเป็นความรักและได้อภิเษกสมรสกันในเวลา
อามัส (แปลว่าทอง) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากมลายู เป็นว่าวที่ท�า ต่อมา บางส�านวนว่าพระร่วงเจ้าได้ใช้เท้าเกลี่ยดินจนเกิดเป็น
ค่อนข้างยาก แต่มีลวดลายอันวิจิตรงดงาม ถนนส�าหรับใช้วิ่งว่าว กลายเป็นต�านานถนนพระร่วง ซึ่งชาว
เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑ 43