Page 46 - E-Book Culture 02_20182
P. 46

ศรีสัชนาลัยได้ร่วมใจกันอนุรักษ์ว่าวพระร่วง-พระลือ มาจนถึง  ตีเมือง แม่ทัพนายกองได้คิดอุบายเผาเมือง โดยใช้หม้อดินบรรจุ
          ทุกวันนี้                                            ดินด�าผูกสายป่านว่าวจุฬา ชักข้ามก�าแพงเมืองเข้าไป ให้เกิด
              ในสมัยอยุธยา สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ มีกฎ    ระเบิดตกไปไหม้บ้านเมือง ราษฎรระส�่าระสาย จึงเข้าตีเมืองได้
          มณเฑียรบาล ห้ามไม่ให้ผู้ใดเล่นว่าวข้ามพระราชวัง และในรัชสมัย  ส�าเร็จ จากประวัติศาสตร์ตอนนี้ปรากฏชื่อ ว่าวจุฬา เป็นครั้งแรก
          สมเด็จพระนารายณ์มหาราช จดหมายเหตุของลาลูแบร์ราชทูต   ในสมัยแผ่นดินของพระพุทธเจ้าเสือ นอกจากจะโปรดการชกมวยแล้ว

          ฝรั่งเศส บันทึกไว้สรุปได้ใจความว่า “การเล่นว่าวในเมืองไทย  ยังโปรดการเล่นว่าวจุฬา-ปักเป้ากับข้าราชบริพารเสมอๆ ค�าว่า
          เป็นการเล่นเพื่อสนุกสนานและเป็นที่นิยมกันในหมู่เจ้านายและ  “ว่าวปักเป้า” จึงเป็นว่าวอีกชนิดหนึ่งที่ปรากฎชื่อขึ้นในสมัยนี้
          ขุนนาง ว่าวของสมเด็จพระเจ้ากรุงสยามปรากในท้องฟ้าของ      ในสมัยรัตนโกสินทร์ ว่าวยังคงเป็นการละเล่นยอดนิยม
          ทุกเดือน ตลอดระยะเวลา ๒ เดือน ของฤดูหนาว และทรงแต่ง  พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ และสมเด็จ
          ตั้งขุนนาง (ราชเสวก) ให้คอยผลัดเปลี่ยนเวรกันถือสายป่าน  กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ พระอนุชาธิราช ทรงโปรด

          ไว้” บาทหลวงตาชาร์ด บันทึกไว้ว่า “ว่าวเป็นกีฬาที่เล่นกันทั่วไป  การทรงว่าวมาก ดังมีค�ากล่าวคล้องจองกันว่า “วังหลวงทรงจุฬา
          ในหมู่ชาวสยามที่ทะเลชุบศรและที่เมืองลพบุรี ขณะที่สมเด็จ  วังหน้าทรงปักเป้า”
          พระนารายณ์มหาราชเสด็จประทับอยู่นั้น ในเวลากลางคืนรอบ       ในรัชกาลที่ ๔ มีผู้นิยมเล่นว่าวกันมาก จนทางการต้อง
          พระราชนิเวศน์จะมีว่าวรูปต่างๆ ลอยอยู่ ว่าวนี้ติดโคมส่อง  ออกประกาศใน จ.ศ. ๑๒๑๗ (พ.ศ. ๒๓๙๘) ให้ระมัดระวังการ
          สว่างและลูกกระพรวนส่งเสียงดังกรุ๋งกริ๋ง”             เล่นว่าว มิให้สายป่านไปต้องช่อฟ้า ใบระกา ของปราสาทราชวัง
              ในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา ยังได้ใช้ว่าวในการสงคราม  และวัดต่างๆ เป็นอันขาดในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระ

          อีกด้วย เมื่อครั้งที่พระองค์ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์  จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ถือได้ว่าเป็นยุคทองของการ
          เจ้าเมืองนครราชสีมา มิยอมสวามิภักดิ์ จึงโปรดให้ยกกองทัพไป  เล่นว่าวไทย ด้วยทรงโปรดกีฬาว่าวเป็นอันมาก โปรดเกล้าฯ ให้






































                                                                                ว่าวดุ๊ยดุ่ยตัวใหญ่ ต้องใช้หลายคนช่วยส่งขึ้นฟ้า



     44
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51