Page 48 - E-Book Culture 02_20182
P. 48
ประชาชนมาชมการแข่งขันว่าวที่สนามพระราชวังสวนดุสิต ว่าวจุฬาที่ชนะการแข่งขันในสมัยรัชกาลที่ ๕ ต�าราว่าวเล่มแรกของไทยโดยพระยาภิรมย์ภักดี
ให้นายสนามตรวจจ�ากัดขนาดของว่าวจุฬา และว่าวปักเป้า ส่วน เล่นว่าวไทย” ทั้งยังเป็นผู้แต่งหนังสือ ต�านานว่าวพนัน ต�าราผูก
สายเครื่องและป่านชักให้ท�าเครื่องหมายเป็นสีที่แตกต่างกัน และ ว่าว วิธีชักว่าว และการเล่นว่าวต่อสู้กันในอากาศ ซึ่งถือเป็นต�ารา
ให้รับเงินวางเดิมพันของทั้ง ๒ ฝ่าย และพระราชทานวงดนตรี ว่าวเล่มเดียวในเมืองไทย และเป็นผู้การก่อตั้งสมาคมกีฬาสยาม
มาประโคมประกอบการเล่นว่าวถึง ๒ วง คือ ทางฝ่ายว่าวจุฬา ในสมัยรัชกาลที่ ๖ หลวงเจนสถลรัถย์ (จัน ภูมิจิตร) เริ่ม
วงหนึ่ง ฝ่ายว่าวปักเป้าวงหนึ่ง ทั้งสองวงเป็นวงปี่พาทย์ไทย นัดเล่นว่าวพนันขนาดเล็ก โดยใช้ว่าวจุฬาที่มีอกยาวเพียง ๓ ศอก
วงหนึ่ง แตรวงสากลวงหนึ่ง และโปรดเกล้าฯ พระราชทานเลี้ยง คืบ เล่นที่ทุ่งศาลาแดงอันกว้างใหญ่และอยู่ไม่ไกลจากชุมชน
เครื่องว่างแก่ผู้ที่น�าว่าวมาแข่งขัน ท�าให้สนามสวนดุสิตเป็นสนาม เมื่อว่าวตกก็สามารถตามเก็บได้สะดวก เพราะไม่มีบ้านเรือน
แข่งขันว่าวที่ครึกครื้นสนุกสนานกว่าสนามแห่งอื่นๆ ในการ หนาแน่น จึงมีผู้นิยมน�าว่าวไปเล่นและไปชมเป็นจ�านวนมาก แม้
แข่งขันชิงถ้วยทองนี้ พระองค์เสด็จฯ มาประธานและพระราชทาน กระทั่งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ เช่น พระยาประชากรกิจวิจารณ์
ถ้วยด้วยพระองค์เอง ซึ่งถ้วยทองนี้จะพระราชทานแก่ว่าวจุฬาและ (โอ อมาตยกุล) พระยาประชุมพลขันธ์ (ขัน ศรียาภัย) ก็น�าว่าว
ปักเป้าตัวที่ชนะยอดเยี่ยมอย่างละ ๑ ถ้วย และหากชนะติดต่อกัน จุฬามาเล่นเดิมพันกับว่าวปักเป้า โดยขอให้พระยาภิรมย์ภักดี
๓ ปีซ้อนจะได้ถ้วยนั้นเป็นกรรมสิทธิ์ นอกจากรางวัลถ้วยทองแล้ว พระอรสุมพลาภิบาล ซึ่งเป็นผู้ชักว่าวปักเป้าฝีมือดี น�าว่าวปักเป้า
ยังมีรางวัลผ้าแพรห้อยดิ้นปักเลื่อม เป็นอักษรพระนาม จปร. มี ไปล่อและพนันกันเป็นที่สนุกสนาน นักเล่นว่าวฝีมือดีจ�านวนมาก
๓ สี ๓ ชั้นรางวัล คือ สีทอง สีชมพู และสีทับทิม เป็นรางวัล จึงไปเล่นที่สนามทุ่งศาลาแดง ต่อมาสนามแห่งนี้ ได้เลิกเล่นว่าว
ส�าหรับว่าวจุฬาและปักเป้า ต่างกันตรงที่ปักเป้าจะมีรูปกลม ขนาดเล็ก เปลี่ยนเป็นว่าวจุฬาขนาดใหญ่ ๔ ศอกเศษ เล่นได้
ดอกจัน ในปีนั้นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ หรือรัชกาลที่ ๖ เพียง ๓ ปี ต้องหยุดเล่น เนื่องจากพระยาประชากรกิจวิจารณ์
กรมหลวงชุมพรเขตต์อุดมศักดิ์ และพระภิรมย์ภักดี (นายชม และพระยาประชุมพลขันธ์ ติดราชการ สนามทุ่งศาลาแดงได้รับ
เศรษฐบุตร) ลงแข่งด้วย ซึ่งพระภิรมย์ภักดีเป็นผู้ได้รับชัยชนะ ความนิยมลดลงไปเรื่อยๆ จนต้องล้มเลิกไป
การเล่นว่าวที่สนามสวนดุสิตด�าเนินไปอย่างสนุกสนานได้เพียง ๒ ปี ใน พ.ศ. ๒๔๖๗ ได้มีการจัดประลองว่าวจุฬาและว่าวปักเป้า
เท่านั้น ก็ต้องล้มเลิกไป เนื่องจากรัชกาลที่ ๕ ไม่ทรงว่างจาก ขึ้นอีกครั้งใน “วันกาชาด” โดยมีพระยาภิรมย์ภักดีเป็นนายสนาม
พระราชกิจ นักเล่นว่าวจึงกลับไปเล่นกันที่ท้องสนามหลวง เป็นครั้งแรก สมเด็จพระมาตุจฉาเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี
ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ว่าวปักเป้าที่มีชื่อเสียงมาก คือ ว่าวของ องค์สภานายิกา แห่งสภากาชาดสยาม เสด็จฯ มาประทานรางวัล
พระภิรมย์ภักดี (ชม เศรษฐบุตร) ซึ่งเป็นบิดาของพระยาภิรมย์ภักดี แก่เจ้าของว่าวภาพที่ชนะการประกวด ฝ่ายว่าวจุฬามีสมเด็จพระเจ้า
(บุญรอด เศรษฐบุตร) ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นนายสนามว่าวคนแรก น้องยาเธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ เป็น
พร้อมธงประจ�าต�าแหน่ง เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการเล่นว่าว ผู้ทรงชักเอง เป็นที่สนุกสนานครึกครื้นของผู้ชมเป็นอย่างมาก ใน
ปักเป้า ที่หาคู่ต่อสู้ได้ยาก จนได้รับยกย่องให้เป็น “ครูของการ งานนี้ เก็บเงินรายได้บ�ารุงสภากาชาดสยามได้กว่า ๕,๐๐๐ บาท
46