Page 49 - E-Book Culture 02_20182
P. 49
ต�าราว่าวเล่มแรกของไทยโดยพระยาภิรมย์ภักดี ว่าวงูขนาดมหึมาที่ต้องใช้ไพร่พลมากมายในการขึ้นว่าว บรรยากาศการเล่นว่าวนานาชาติที่ค่ายพระรามหก
ในสมัยรัชกาลที่ ๗ เหลือสนามแข่งขันว่าวเพียงแห่งเดียว นายปริญญา สุขชิต (ลุงเป็ด) ผู้ริเริ่มสร้างสรรค์ท�าว่าวแบบแปลกๆ
คือสนามหลวงเท่านั้น ในช่วงที่เศรษฐกิจตกต�่า การแข่งขันว่าวจึง สร้างสีสันและความตื่นตาให้กับวงการว่าวไทย ส่วนผู้คร�่าหวอดใน
เงียบหายไป พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเห็นว่าว่าว การท�าสายป่านว่าวคือ นายประสิทธิ์ พละเสวีนันท์ (ลุงแดง) แห่ง
เป็นกีฬากลางแจ้งของไทยมาแต่โบราณ ควรส่งเสริมให้ด�ารงอยู่ วัดพระศรีอารย์ จ.ราชบุรี ซึ่งที่นี่ได้เปิดเป็นแหล่งเรียนรู้การท�า
สืบไป โปรดเกล้าฯ ส่งว่าวจุฬาที่มีเครื่องหมาย “สามศร” เข้าร่วม ว่าวไทยกับปราชญ์ชาวบ้านอีกด้วย
แข่งขันด้วย และมีว่าวจุฬาสายส�าคัญของสมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ ต่อมาเมื่อมีเหตุการณ์เกิดขึ้นมากมาย ท�าให้กรุงเทพมหานคร
เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ ติดเครื่องหมาย จ�าต้องปิดสนามหลวง การเล่นว่าวจึงลดลงไปมาก สมาคมกีฬาไทย
“ดาวทอง” เข้าแข่งขันอีกสายหนึ่ง ทั้งได้เสด็จฯ พระราชทาน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ได้เคยมีความพยายามไปจัดแข่งว่าวที่อื่น
รางวัลให้แก่ผู้ที่ชนะการแข่งขันในวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๐ โดย บ้าง เช่นที่สวนรถไฟ แต่ด้วยมีต้นไม้มาก เมื่อขึ้นว่าวไปแล้วมักจะ
มีพระยาภิรมย์ภักดีเป็นนายสนาม ท�าให้ท้องสนามหลวงคราคร�่า ลอยไปติดตามต้นไม้ เกิดการช�ารุดเสียหายไม่สามารถแข่งต่อได้
ไปด้วยผู้คนทุกเพศทุกวัยอีกครั้ง กีฬาแข่งขันว่าวซึ่งได้ซบเซาไปได้ อีก จึงต้องยกเลิกไป และต้องกลับมาจัดที่สนามหลวง ซึ่งถือเป็น
กลับมีชีวิตชีวาขึ้น หลังจากนั้นจึงได้มีการจัดแข่งขันกีฬาว่าวพนัน สนามหลักในการแข่งขันว่าวในประเทศไทยเท่านั้น ต่อมาคนรัก
จุฬา-ปักเป้า ในระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายนของทุกปี ว่าวได้รวมตัวกันจัดตั้งสมาคมกีฬาว่าวไทยจุฬา-ปักเป้า ขึ้นมาโดย
ต่อเนื่องมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ ๙ เมื่อเกิดสงครามโลก มีพลเรือเอกชัยณรงค์ เจริญรักษ์ เป็นนายกสมาคม
ครั้งที่ ๒ การแข่งขันได้มีหยุดชะงักไป หลังสงครามกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันได้มีการจัดงานว่าวไทยประเพณีและว่าวนานาชาติขึ้น
ได้ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน จัดงานงานมหกรรม ในหลายจังหวัด เพื่อเป็นการอนุรักษ์ว่าวไทยและว่าวที่มีเอกลักษณ์
ว่าวไทยปี ๒๕๒๖ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เฉพาะถิ่นเอาไว้เกือบทั่วทุกภาคของประเทศ เพื่อส่งต่อภูมิปัญญา
เสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธี มีการแข่งว่าวจุฬา-ปักเป้า ชิงถ้วย ศาสตร์และศิลป์แขนงนี้ ให้คนแก่รุ่นหลัง อาทิ มหกรรมว่าวประเพณี
พระราชทาน มีการประกวดว่าวภาพ ตลอดจนมีนิทรรศการว่าว และว่าวนานาชาติจังหวัดสตูล เทศกาลว่าวไทยและว่าวนานาชาติ
เซียนว่าวรุ่นใหญ่ในยุคนี้ต้องยกให้ ม.ร.ว.อัครัฐ วรวุฒิ ซึ่งมักเรียก อ.ชะอ�า จ.เพชรบุรี (บางทีจัดที่ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์) งานแข่ง
กันว่าลุงหม่อม ผู้เชี่ยวชาญในการท�าและการเล่นว่าวและท�าว่าว ว่าวหาดสมิหลา อ.เมือง จ.สงขลา เทศกาลว่าวพระร่วง อ.ศรีสัชนาลัย
ปักเป้า กับนายบุญธรรม ฮิมสกุล (ลุงซุป) ผู้เชี่ยวชาญในการเล่น จ.สุโขทัย มหกรรมว่าวอีสาน อ.ห้วยราช จ.บุรีรัมย์ เป็นต้น
ว่าวและท�าว่าวจุฬา ทั้งสองท่านเป็นแชมป์ถ้วยพระราชทาน บรรณานุกรม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ มาหลายสมัย แชมป์รุ่น พระยาภิรมย์ภักดี (บุญรอด เศรษฐบุตร) “ต�านานว่าวพนัน
ต่อมาคือ รต.รุ่งโรจน์ ภู่ไหมทอง (บังดี้หรือจ่าดี้) ผู้เล่นว่าวปักเป้า ต�าราผูกว่าว วิธีชักว่าว”
นิตยสารศิลปากร • ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒ สารานุกรมไทยส�าหรับ
และ รท. กบิน เคาวสุต (จ่าต้อย) แต่ผู้ที่ใครๆ ในวงการว่าวรู้จักดีคือ เยาวชนฯ /เล่มที่ ๓๗ /การเล่นว่าวในสมัยรัตนโกสินทร์.
เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑ 47