Page 37 - E-Book Culture 02_20182
P. 37

ชายสองแย่งหญิงหนึ่ง คือเรื่องชิงรักหักสวาท
                                                                              ของขุนแผน ชายหนุ่มรูปงามผู้เก่งกล้าทาง
                                                                              การต่อสู้และมีเวทมนต์อาคมสูงส่ง กับขุนช้าง
                                                                              เศรษฐีใหญ่รูปร่างไม่ต้องตาหญิงสาว แต่มี
                                                                              ความฉลาดแกมโกงเจ้าเล่ห์เพทุบายร้อยแปด
                                                                              และสามารถใช้จุดเด่นของตนแย่งชิงนางพิม

                                                                              พิลาไลย นางเอกสาวสวยชาวบ้านกรุงศรีอยุธยา
                                                                              ที่อยู่ในกรอบจารีตประเพณีเคร่งครัดได้ส�าเร็จ
                                                                                   ส่วนโครงเรื่องรุ่นลูก กลับเป็นเรื่องราว
                                                                              การต่อสู้ชิงรักหักสวาทกันระหว่าง สองหญิง

                                                                              แย่งหนึ่งชาย คือจมื่นไวยวรนาถ หรือพลายงาม
                                                                              บุตรชายผู้เก่งกล้าเรืองวิชาอาคมของขุนแผน
                                                                              โดยนางศรีมาลา เมียรักภรรยาหลวง ต่อสู้




           เณรแก้ว ได้สบตากับนางพิมครั้งแรกเมื่อขึ้นเทศน์มหาชาติ เมื่อเทศน์จบนางพิมถอดผ้าสไบขึ้นถวาย
               สัปปุรุษหญิงชายครั้นได้ฟัง   เสียงสาธุดังขึ้นพร้อมหน้า
               ทุกคนดลใจให้ศรัทธา    นางพิมเปลื้องผ้าทับทิมพลัน
               จีบจบค�ารบถ้วนสามที   ยินดีวางลงในพานนั่น
               ถวายแล้วนอบนบอภิวันท์   พิษฐานส�าคัญด้วยศรัทธา

               และหนังสือเรื่องขุนช้างขุนแผนนี้ ไม่เพียงแต่จะเป็นวรรณกรรมส�าหรับอ่านกัน
           เล่นเพื่อความเพลิดเพลินและเพื่อรับรสแห่งวรรณคดีเป็นเครื่องบันเทิงใจเท่านั้น หาก

           แต่บางตอนในวรรณกรรมเรื่องนี้ยังเป็นหลักฐานที่ให้ความรู้ในเรื่องราวความเป็นอยู่
           ของผู้คนและบ้านเมืองในสมัยต้นรัตนโกสินทร์เมื่อหนังสือเล่มนี้ได้แต่งขึ้นไว้ด้วย
           สมกับที่มีค�ากล่าวว่า วรรณกรรมเป็นกระจกเงาสะท้อนภาพความเป็นไปของบ้าน
           เมืองในยุคนั้นๆ ให้คนรุ่นหลังๆ ได้ทราบ
               ขุนช้าง ขุนแผน เป็นนิทานชีวิตรักสามเส้า ที่ชาวกรุงศรีอยุธยาน�ามาเล่าขาน
           ในรูปแบบของการขับล�าน�าปากเปล่าประกอบการขยับกรับที่เรียกกันว่า การขับเสภา

           มาตั้งแต่สมัยต้นกรุงศรีอยุธยา นักขับเสภา จะเลือกสรรขับเฉพาะตอนส�าคัญๆ
           ไม่ปรากฏหลักฐานมาเป็นลายลักษณ์อักษร
               เพิ่งจะมีการรวบรวมเรียบเรียงให้เป็นเรื่องเดียวกันในสมัยรัชกาลที่ ๒ แห่งกรุง
           รัตนโกสินทร์ และได้ตีพิมพ์ขึ้นครั้งแรกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า   ความฝันของนางเทพทอง ก่อนให้ก�าเนิดขุนช้าง

           เจ้าอยู่หัว ใน พ.ศ. ๒๕๑๕ โดยโรงพิมพ์หมอสมิธ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๖๐ จึงได้มี    ฝ่ายนางเทพทองนั้นนอนหลับ  พลิกกลับก็เพ้อละเมอฝัน
           การช�าระต้นฉบับของหลวง และของชาวบ้านจัดพิมพ์ขึ้นเป็น ฉบับหอสมุดวชิรญาณ       ว่าช้างพลายตายกลิ้งตลิ่งชัน   พองขึ้นหัวนั้นเน่าโขลงไป
                                                                                                    บินเตร่เร่มาแต่ป่าใหญ่
                                                                                  ยังมีนกตะกรุมหัวเหม่
           ซึ่งเป็นต้นแบบของเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ซึ่งเป็นที่รู้จักกันทั่วไป       อ้าปากคาบช้างแล้ววางไป   เข้าในหอกลางที่นางนอน
               นิทานขุนช้างขุนแผน เนื้อหาหลักเป็นเรื่องเล่าชีวิตชาวบ้านแท้ๆ ผูกเป็น      ในฝันนั้นว่านางเรียกนก   เชิญเจ้าขรัวหัวถกมานี่ก่อน
           รักสามเส้าของชายหญิงสองรุ่น รุ่นพ่อ และรุ่นลูก โครงเรื่องรุ่นพ่อเป็นเรื่องของ      นางคว้าได้ตัวเจ้าหัวกล้อน   กอดนกกับช้างนอนสบายใจ


                                                                                               เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑  35
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42