Page 32 - E-Book Culture 02_20182
P. 32
การปักดิ้นโปร่ง ดิ้นโปร่งเป็นเส้น
สี่เหลี่ยม นูนและโปร่ง ยืดหยุ่นเชื่อมติดต่อ
กัน มีทั้งดิ้นโปร่งเงิน และโปร่งทอง น�ามาปัก
เป็นลวดลาย อาจมีการหนุนด้วยด้าย หรือดิ้น
ข้อด้านล่าง เมื่อจะปักตัดเป็นท่อนๆ ให้ยาว
กว่าลายเล็กน้อยให้พอเหมาะกับลาย อาจมี
การหนุนด้วยด้ายด้านล่าง ใช้เข็มร้อยด้ายเข้า
ในดิ้นโปร่ง เย็บปักเข็มลงในทิศตรงข้ามจน
เต็มตามแบบลวดลาย
การปักแล่ง แล่ง คือ แผ่นโลหะทอง เงิน
ที่รีดเป็นเส้นแบนเล็กๆ น�ามาประกอบการเย็บ
ปักชนิดต่างๆ เพื่อให้ดูแวววาวสวยงาม มีทั่ง ๑
แล่งเงิน และแล่งทอง เลือกใช้ตามความ
เหมาะสมของงาน
การปักหักทองขวาง คือ การใช้ด้ายยึด ๑-๒ การปักดิ้นข้อเดินเส้น การถักกรองทอง หรือ ถักตาชุน ผ้าตาชุน เป็นการ
ตรึงเส้นด้ายไหมทองหัวท้ายลายหักทบไปมา ลาย ปักถมลายด้วย ถักขึ้นด้วยไหมสีเงิน หรือทองเส้น ที่มีลักษณะโปร่ง
ดิ้นมัน หรือดิ้นโปร่ง
ในลักษณะขวางตัวลายจนเกิดเป็นลวดลาย เป็นตาข่ายเล็กๆ แล้วน�ามาปักดิ้น เลื่อม แบบต่างๆ เป็น
อาจมีการหนุนลายด้วยด้าย โดยไม่ปักเส้นด้าย ๓. การปักดิ้นข้อเดินเส้น ลวดลาย เช่น ผ้าทรงสะพัก หรือฉลองพระองค์ครุยเป็นต้น
ไหมทองสอดลงไปในผ้า แต่ตรึงไว้ด้วยด้ายใน ลาย ปักถมลายด้วย ผ้าลายทองแผ่ลวด คือ การที่ผู้มีความช�านาญในงาน
ดิ้นมัน หรือดิ้นโปร่ง
ส่วนหัวและส่วนท้ายเท่านั้นเช่นเครื่องสูง ฉัตร และเลื่อม ฝีมือหลายแขนงมารวมตัวกัน สร้างสรรค์งานศิลปกรรม
ฉัตรชุมสาย บังแทรก ท�าด้วยผ้าปักหักทอง ที่มีขั้นตอนกระบวนการสร้างงาน ตั้งแต่การออกแบบ
ขวาง ใช้ในกระบวนแห่เสด็จพระราชด�าเนิน ลวดลาย น�ามาตอกฉลุ มาแผ่เป็นผืนใหญ่ น�าไปปิดด้วย
ทองค�าเปลว และประดับกระจก แล้วท�าการเย็บตรึง
ลวดลาย โดยใช้ด้ายเส้นใหญเดินเส้นไปตามแบบตัวลาย
และใช้ด้ายเส้นเล็กเย็บตรึงลวดลายให้ติดแน่นบนผืนผ้า
เพื่อใช้ประกอบในงานศิลปกรรมต่างๆ เช่น ผ้าม่าน หลังคา
เรือพระราชพิธี ฉัตรเครื่องสูงต่างๆ ธงงอนราชรถ ผ้าดาด
หลังคาพระศีวิกากาญจน์ เป็นต้น
ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ด�าเนินการเกี่ยวเนื่องกับงาน
ช่างสนะที่ยังคงสืบทอดส่งต่องานที่ก�าลังจะสูญหายให้คง
อยู่ต่อไปในสังคมปัจจุบันอยู่เพียงไม่กี่แห่ง อาทิ
สถาบันสิริกิติ์ เป็นสถาบันกลางที่สมเด็จพระนางเจ้า
สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้
เปิด โรงฝึกศิลปาชีพสวนจิตรลดา ให้เป็นศูนย์กลางในการ
๒ ฝึกอบรมศิลปาชีพแก่นักเรียนศิลปาชีพที่ทรงรับมาจาก
ครอบครัวชาวนา ชาวไร่ ผู้ยากจน ที่มีฝีมือด้านงานช่าง
30