Page 29 - E-Book Culture 02_20182
P. 29
๑
๒. การเย็บผ้าลายทองแผ่ลวด
ช่างสนะปรากฏหลักฐานเอกสารมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ดังปรากฏใน
กฎหมายตราสามดวง กล่าวถึงช่างสนะไทย ในพระไอยการต�าแหน่ง
นาพลเรือน ปรากฏท�าเนียบนามช่าง ในกรมพระภูษา มีขุนจิตรภรณ์
เจ้ากรม นา ๘๐๐ หมื่นไชยาภรณ์ นา ๒๐๐ ช่างสนะไทย ๖ คน คือ หมื่น
จิตรพัตรา นา ๒๐๐ หมื่น ภูษาสาร นา ๒๐๐ หมื่นโกษาพิจิตร
นา ๒๐๐ หมื่นพิพิทสาฏก นา ๒๐๐ หมื่นกาสิกพัตร นา ๒๐๐ หมื่นรัตก�าพล
นา ๒๐๐ และช่างสนะจีน ๓ คน หมื่นช�านาญโกไสย นา ๘๐๐ หมื่นพิมล
ภูษิต นา ๖๐๐ และหมื่นชะระภูษิต นา ๖๐๐ เป็นต้น
ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
มหาราช รัชกาลที่ ๑ โปรดเกล้าฯ ให้ช�าระกฏหมายตราสามดวงมีการจัด
๒ แบ่งพระไอยการต�าแหน่งนาพลเรือนและไอยการต�าแหน่งนาทหารหัวเมือง
ขึ้นใหม่ โดยจัดระเบียบหมวดหมู่ช่าง แบ่งออกเป็นกรมต่างๆ เรียกว่า “กรม
๑. การตอกฉลุกระดาษ เพื่อใช้ในงานผ้าลายทอง
แผ่ลวด ตามรูปแบบลวดลาย ช่างสิบหมู่” ปรากฏช่างสนะ (ไทย) และช่างสนะ (จีน)
ในพระไอยการต�าแหน่งนาพลเรือน รัชสมัยพระบาทสมเด็จ
๒. เครื่องแต่งกายโขนละครตัวพระที่งามละเอียด พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ (พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๕๓) ทรงจัดการงาน
ด้วยงานฝีมือช่างสนะอันประณีต
ช่างเป็นกรมต่างๆ ซึ่งมี ช่างสนะไทย เป็นกรมหนึ่งด้วย ในรัชสมัยพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงจัดระเบียบราชการใหม่
บรรดาช่างหมู่ต่างๆ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรม ในฝ่ายข้าราชการพลเรือน
โดยตรง ไม่เกี่ยวกับทหารอย่างที่เป็นมาแต่โบราณ
เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑ 27