Page 24 - E-Book Culture 02_20182
P. 24
เมื่อวงมโหรีในสมัยต้นกรุง
รัตนโกสินทร์ได้มีการเพิ่มเครื่อง
ดนตรีขึ้นอีกหลายชิ้นเพื่อขยายวง
ให้มีเครื่องดนตรีมากขึ้น กระจับปี่
ที่มีน�้าหนักมากและมีเสียงเบา
จึงถูกเครื่องดนตรีอื่นๆ กลบเสียง
จนไม่ได้ยินเสียงกระจับปี่ในวง
ดนตรี โดยเฉพาะเมื่อมีการน�า
จะเข้เข้ามาร่วมบรรเลงในวงมโหรี
เครื่องสายต่างๆ จะเข้นั้นเป็น
เครื่องดีดที่มีความคล่องตัวสูงกว่า
วางกับพื้น ดีดได้สะดวก มีการ
พัฒนาเทคนิคการสร้างเสียงและ ๑
เพลงฝึกมือจนผู้ดีดสามารถ
บรรเลงได้อย่างคล่องแคล่ว ที่
ส�าคัญคือมีเสียงดังกว่ากระจับปี่ ๑. นักกระจับปี่รุ่นใหม่ กระจับปี่ในสังคมไทยใหม่
ของไทย ขณะบรรเลง
เมื่อน�ามาบรรเลงในวงเดียวกัน เพลงลาวแพน หลังจากเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง สถานภาพของศิลปะ
จึงท�าให้กระจับปี่ลดอ�านาจลงไป ๒. ท่านั่งเล่นกระจับปี่ ในราชส�านักถูกโอนถ่ายไปสู่อ�านาจของรัฐ เกิดการรื้อฟื้นเครื่องดนตรี
และอาจเป็นเพราะความประณีต ถือเป็นท่านั่งเล่น โบราณมารับใช้สังคมใหม่กันหลายวาระ แต่ที่ถือว่าเป็นเหตุการณ์
ในการผลิต ซึ่งหาช่างฝีมือที่ ดนตรีไทยที่ ประวัติศาสตร์ที่ส�าคัญและมีผลต่อการสืบต่อความรู้ทั้งด้านการสร้าง
น่ามองที่สุด
สร้างกระจับปี่เก่งๆ ได้ยาก ท�าให้ เครื่องดนตรีกระจับปี่ การสร้างศิลปินกระจับปี่รุ่นใหม่ และการสร้าง
ความนิยมของกระจับปี่จ�ากัด บทเพลงใหม่ที่นอกเหนือไปจากเพลงมโหรี นั่นคือ ช่วง พ.ศ. ๒๕๑๐ มี
มาก แต่อย่างไรก็ตาม กระจับปี่ การผลิตงานสร้างสรรค์ที่เรียกว่า “ระบ�าโบราณคดี” ขึ้นใหม่ โดยกรม
ก็ยังไม่ถึงกับหายสาบสูญไปจาก ศิลปากร ภายใต้การอ�านวยการของนายธนิต อยู่โพธิ์ อดีตอธิบดี โดย
สังคมไทยเสียทีเดียว มีครูมนตรี ตราโมท เป็นผู้ประพันธ์เพลงและออกแบบการประสมวง
เครื่องดนตรีในระบ�าโบราณคดียุคต่างๆ เป็นเหตุให้กระจับปี่ถูกน�ากลับ
มาใช้งานอีกครั้งหนึ่ง บทเพลงที่่มีเสียงกระจับปี่อยู่ด้วย คือ ระบ�าสุโขทัย
ระบ�าลพบุรี ระบ�าศรีวิชัย บรรเลงโดยนักดนตรีไทยรุ่นใหม่ของกรม
ศิลปากร เช่น ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน จีรพล เพชรสม มีการออกแบบ
เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายให้สมสมัยประวัติศาสตร์ มีการเผยแพร่สู่สาธรณชน
อย่างจริงจัง ซึ่งมีผลให้ภาพลักษณ์ของกระจับปี่และเครื่องดนตรี
โบราณอื่นๆ กลับมาเป็นที่รู้จักกันใหม่ นอกจากนี้ ในช่วงเวลาใกล้เคียง
กัน มีรายการโทรทัศน์ของศาสตราจารย์ ดร.อุทิศ นาคสวัสดิ์ ชื่อ
“ดร.อุทิศ แนะดนตรีไทย” ได้น�าผู้บรรเลงกระจับปี่ที่มีฝีมือยอดเยี่ยมชื่อ
ครูลิ้ม ชีวะสวัสดิ์ แสดงบทเพลงหลากหลายผ่านสื่อโทรทัศน์ บันทึก
เสียงกระจับปี่ในฐานะสินค้าเพลงทั้งเพลงเดี่ยวชั้นสูงและเพลงที่บรรเลง
๒ ร่วมกับเครื่องดนตรีอื่นๆ ออกเผยแพร่ในสื่อวิทยุในนามของ ห.จ.ก.
22