Page 25 - E-Book Culture 02_20182
P. 25

พัฒนศิลป์การดนตรีและการละคร กลายเป็นเสียงที่ผู้คนในสังคม  ยูทูปและเฟซบุคเป็นระยะ โดยเฉพาะกลุ่มนักดนตรีที่ใช้ชื่อว่า
           ใหม่คุ้นเคยเช่นกัน                                   “วิเศษดนตรี” น�าโดยณัฐพันธุ์ นุชอ�าพันธ์ มีผลงานออกสู่ผู้ชม
               นอกจากนี้ บทบาทของกระจับปี่ ยังไปปรากฏในการรับรู้  ในโซเชียลมีเดียมากที่สุดและมีจ�านวนผู้สนใจติดตามผลงาน
           ของกลุ่มนิสิตนักศึกษา ปัญญาชน ในยุคการเมืองเดือนตุลา โดย  มากที่สุด นักดีดกระจับปี่คนอื่นๆ ที่มีผลงานสู่สาธารณะ เช่น
           เฉพาะการที่สุจิตต์ วงษ์เทศ ซึ่งมีความสนใจในเครื่องดนตรี  ประสาร วงศ์วิโรจน์รักษ์ วงกอไผ่, อภิชัย พงษ์ลือเลิศ

           โบราณชิ้นนี้ น�ากระจับปี่ไปประสมวงกับเครื่องดนตรีอื่นๆ ของ  กรมศิลปากร, โกญจนาท วิบูลย์เพ็ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
           คนหนุ่มสาวหัวก้าวหน้า ใช้ชื่อวงดนตรีว่า “เจ้าพระยา” และ   เป็นต้น ส่วนช่างท�ากระจับปี่รุ่นใหม่ที่มีชื่อเสียงอยู่ในท้องตลาด
           “ต้นกล้า” น�าบทกวีของเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ สุจิตต์ วงษ์เทศ  เครื่องดนตรีไทย ได้แก่ ช่างบุญรัตน์ ทิพยรัตน์ จ.เชียงใหม่
           มาเป็นวัตถุดิบหลักในการแสดงออกทางความคิดเห็นทางการ   ช่างจักรี มงคล กรุงเทพมหานคร ช่างวรรณรัชต์ ศุภสกุลด�ารง
           เมือง ก็ท�าให้กระจับปี่เป็นที่รู้จัก และส่งผลต่อมาที่วงดนตรี  พระนครศรีอยุธยา ฯลฯ นอกจากนี้ ยังมีนักดนตรีร่วมสมัยที่

           รุ่นใหม่หลังจากนั้น คือวงกอไผ่ ที่มักใช้กระจับปี่เป็นส่วนหนึ่ง  ทดลองพัฒนากระจับปี่ขึ้นเป็นเครื่องดนตรีแนวเวิลด์มิวสิคเล่น
           ของการแสดงคอนเสิร์ต                                  กับวงดนตรีสากลอย่างจริงจัง คือ พงษ์พรหม สนิทวงศ์
               ปัจจุบัน สถานภาพของกระจับปี่ กลับมาเป็นที่สนใจใน  ณ อยุธยา พัฒนาจ�านวนเส้นสายกระจับปี่ คุณภาพสาย การจัด
           สังคมดนตรีไทยที่เน้นการสื่อสารผ่านโซเซียลมีเดีย คนหนุ่มสาว  แบ่งระยะนมกระจับปี่ ตลอดจนวงจรไฟฟ้าที่น�ามาขยายเสียง
           ที่เป็นผลผลิตของมหาวิทยาลัยชั้นน�าหลายแห่ง หันมาเล่น  ของกระจับปี่เมื่อบรรเลงในเวทีดนตรีร่วมสมัย
           กระจับปี่อย่างจริงจัง มีการอัพโหลดผลงานขึ้นแสดงตัวตนใน     อย่างไรก็ตาม ณ วันนี้ยังไม่อาจเรียกได้ว่า กระจับปี่จะอยู่

                                                                ในสังคมไทยได้อย่างจริงจัง ค�าตอบของการนี้ยังอยู่ที่ค�าว่า
                                                                การศึกษา เพราะการค้นคว้าเรื่องกระจับปี่ยังเป็นการศึกษา
                                                                “นอกระบบ” มากกว่า “ในระบบ” ข้อมูลเรื่องกระจับปี่ เป็นเรื่อง
                                                                แลกเปลี่ยนกันในโซเซียลมีเดียมากกว่าต�าราของรัฐ (ซึ่งก็ไม่ต่าง
                                                                ไปจากสมัยที่อธิบายกันในอดีตเท่าไร ยังคงวนเวียนกับเรื่องที่มา

                                                                เชิงภาษาและบทกวีที่ลอกกันมาทุกยุคสมัย) แต่อย่างไรก็ตาม
                                                                กลุ่มผู้คนที่สนใจในเรื่องกระจับปี่ก็เป็นเพียงชนกลุ่มน้อย เมื่อเทียบ
                                                                กับผู้สนใจเครื่องดนตรีประเภทอื่นๆ ไม่มีแหล่งเรียนรู้ในระดับ
                                                                มัธยมศึกษาหรืออุดมศึกษาที่เปิดพื้นที่ให้กระจับปี่โดยเฉพาะ ไม่มี
                                                                ผู้ช�านาญการท�าหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ ไม่มีการส่งเสริมการศึกษา
                                                                วิจัยอย่างเป็นจริงจัง ไม่ว่าจะพัฒนานักวิจัย ทุนวิจัย หรือการ

                                                                สร้างสรรค์งานวิจัยเชิงทดลองขึ้นมาเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้
                                                                กับกระจับปี่ รวมทั้งจุดที่น่าเสียดายคือ กระจับปี่ฝั่งไทย มีโอกาส
                                                                ที่จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือญาติพิณคอยาวในโลกกว้างน้อย
                                                                มาก มิเพียงแต่การแลกเปลี่ยนกับจับเป็ยในฝั่งกัมพูชาเท่านั้น


                                                                  เอกสารอ้างอิง
                                                                    เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี. สังคีตนิยมว่าด้วยดนตรีไทย.
                                                                      กรุงทพฯ : โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์ม, ๒๕๔๒
                                                                    ปัญญา รุ่งเรือง. อ่านและฟังดนตรีไทยประกอบเสียง.
                                                                      กรุงทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๓
                                                                    อานันท์ นาคคง. เพราะพร้องซอสามสายร่ายล�าน�า.
                                                                      กรุงทพฯ : โรงพิมพ์ห้องภาพสุวรรณ, ๒๕๓๘
            โกญจนาท วิบูลย์เพ็ง   หนึ่งในผู้เล่นกระจับปี่ยุคใหม่    ห้องพิณโบราณ และห้องเรียนเพลงดนตรีอาเซียน. facebook

                                                                                               เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑  23
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30