Page 23 - E-Book Culture 02_20182
P. 23
ผู้เป่าขลุ่ยและตีร�ามะนาเพิ่มเข้ามาในวง
จึงกลายเป็น “มโหรีเครื่องหก”
บทเพลงที่วงมโหรีโบราณนิยมใช้บรรเลง
เป็นเพลงเกร็ดสองชั้นที่มีเนื้อร้องก�ากับในเชิง
กวีโวหาร และเพลงตับที่เรียบเรียงเป็นชุดเพื่อ
การเล่าเรื่องอย่างเพลิดเพลิน บทบาทส�าคัญ
คือการขับร้องถ่ายทอดเนื้อหาของเพลงให้ได้
อารมณ์ความรู้สึกที่ถูกต้อง เสียงของวงมโหรี
มีความอ่อนหวานนุ่มนวล ตัวอย่างบทเพลง
มโหรี เช่น ตับต้นเพลงฉิ่ง ตับนางนาค พัดชา
มหาชัย สระสม พระทอง ค�าหวาน เป็นต้น
บทเพลงที่นิยมบรรเลงด้วยกระจับปี่
แต่เดิมจะเป็นเพลงสองชั้นสั้นๆ ที่มีท�านอง
เรียบง่าย จังหวะปานกลาง เป็นส่วนมาก อาทิ
๓
นางนาค พัดชา ลีลากระทุ่ม สรรเสริญ
พระจันทร์ มหาไชย สระสม นาคเกี่ยวพระสุเมรุ
กระจับปี่ในวงมโหรีโบราณ พระทอง ถอยหลังเข้าคลอง อังคารสี่บท
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ารงราชา ปะตงโอด ปะตงพัน อรชร ล�าไป เนียรปาตี
นุภาพ ทรงอธิบายว่า วงมโหรีโบราณ เกิดจากการประสม จันดิน ก้านต่อดอก เป็นต้น เคยมีการรวบรวม
เครื่องดนตรีในวงขับไม้ กับวงบรรเลงพิณเข้าด้วยกัน รายชื่อเพลงในต�ารามโหรีครั้งกรุงเก่าไว้และยัง
วงขับไม้ประกอบด้วยคนซอสามสายด�าเนินท�านอง มีเพลงยาวต�ารามโหรีสมัยรัชกาลที่ ๑ ตกทอด
คลอคนร้อง คนไกวบัณเฑาะว์ ส่วนวงบรรเลงพิณเป็นการ มาอีกด้วย (อานันท์ นาคคง, ๒๕๓๘ : ๘๐)
บรรเลงกระจับปี่หรือพิณเพียะ/พิณน�้าเต้า คลอเคล้าไปกับ เมื่อพิจารณาจากเพลงขับเรื่องซอมโหรี ก็จะ
ผู้ร้องล�าน�า วงดนตรีทั้งสองแบบมีหลักฐานอยู่ในสมัยกรุง ระบุชื่อเพลงโบราณถึง ๑๙๒ เพลง เพลงบาง
สุโขทัยเป็นราชธานี เพลงก็ยังคงปรากฏใช้บรรเลงในปัจจุบัน แต่บาง
ต่อมาได้เกิดการรวมเครื่องดนตรีจากทั้งวงขับไม้และ เพลงก็คงเหลือเพียงชื่อเพลงและบทขับร้องที่
บรรเลงพิณเข้าด้วยกัน เกิดเป็นวงดนตรีที่เรียกว่า “มโหรี” ไม่สามารถสืบค้นท�านองเพลงเหล่านั้นได้อีก
วงดนตรียุคแรกเริ่มจะประกอบไปด้วยนักดนตรี ๔ คน มี ครั้นถึงสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มีการ
คนขับร้องล�าน�าและตีกรับพวงให้จังหวะคนหนึ่ง คนสีซอ น�าเอาเครื่องปี่พาทย์ย่อส่วนเข้ามาประสม คือ
สามสายคนหนึ่ง คนดีดกระจับปี่คนหนึ่ง และคนตีโทนให้ ระนาดไม้และระนาดแก้ว จึงกลายเป็น “วง
จังหวะอีกคนหนึ่ง เรียกเป็นชื่อวงตามจ�านวนคนว่า “มโหรี มโหรีเครื่องแปด” และต่อมาเกิดการน�าจะเข้
เครื่องสี่” เป็นการประสมวงอย่างเล็กๆ ที่ใช้ขับกล่อมให้ ไปแทนที่กระจับปี่ซึ่งให้เสียงเบาและดีด
ความบันเทิงในราชส�านัก โดยที่ผู้เล่นจะเป็นเพศหญิง ซึ่ง ยากกว่า ส่วนกรับพวงที่ก�ากับจังหวะพร้อมทั้ง
ต่างจากปี่พาทย์ที่ใช้ผู้ชายเล่นประกอบพิธีกรรมหรือ การขับร้องมาตั้งแต่ต้นก็หันไปใช้ฉิ่งซึ่งดัง
ประกอบการแสดงโขนละคร ในสมัยอยุธยาตอนปลาย มี ชัดเจนกว่า และในที่สุด ก็เพิ่มระนาดทุ้ม
หลักฐานจิตรกรรมฝาผนังตามวัดและลวดลายเขียนรดน�้า ฆ้องวง ซอด้วง ซออู้ เข้ามาในวง จนกลาย
ตามตู้หนังสือธรรมแสดงให้เห็นว่า วงมโหรีมี ๖ คน คือมี เป็นรูปแบบของวงมโหรีที่นิยมในยุคปัจจุบัน
เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑ 21