Page 21 - E-Book Culture 02_20182
P. 21
ทั้งหน้าหลัง มีความหนาประมาณ ๗ ซม. กระจับปี่ในประวัติศาสตร์
ด้านหน้ายาวประมาณ ๔๔ ซม. กว้างประมาณ ดนตรีไทยลุ่มน�้าเจ้าพระยา
๔๐ ซม. ตรงด้านหน้ากะโหลกมีแผ่นไม้บางๆ ดนตรีไทยมีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง
ท�าเป็นหย่องค�้าสายให้ตึงขึ้น มีการท�า “คอ” ตั้งแต่โบราณกาลถึงปัจจุบัน การสืบค้นร่องรอย
หรือ “คันทวน” เรียวยาวประมาณ ๑๓๘ ซม. ของอดีตทางดนตรีไทยสามารถศึกษาได้จาก
ตอนปลายคอหรือคันทวนมีลักษณะแบน หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลายประเภท
และบานปลายผายโค้งออกไปในแบบหางปลา ไม่ว่าจะเป็นหลักศิลาจารึก รูปปูนปั้นตาม
ถ้าวัดรวมทั้งคอ/คันทวนและตัวกะโหลก จะมี โบราณสถาน พงศาวดาร มีการกล่าวถึงดนตรี
๓. กระจับปี่ไทย ความยาวประมาณ ๑๘๐ ซม. มีลูกบิดส�าหรับ ไทยสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ปรากฏใน
มี ๔ สาย เป็นสายคู่
ทั้งสายบนสายล่าง ขึ้นสาย ๔ อัน มีนมจัดระยะห่างของตัวโน้ต ๑๑ จารึกโบราณหลายชิ้นด้วยกัน
นม กระจับปี่ที่นิยมของไทยมีสาย ๔ สาย แต่ สมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท)
๔. ลูกบิดของกระจับปี่
มี ๔ อัน ใช้ปรับแต่ง รวบเสียงสองสายเป็นหนึ่งเสียงคู่กัน พ.ศ. ๑๙๒๐ คราวที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท
เสียงของทั้ง ๔ สาย
วิธีการสร้างเสียง เวลาบรรเลง ใช้นิ้ว ณ เขาสมุนกูฎ มีจารึกไว้ว่า “…เสียงขันหมาก
หัวแม่มือกับนิ้วชี้ของมือขวา จับไม้ดีดผลัก ขันพลู บูชา อีกด้วย ดุริยพาทย์ พิณ ฆ้อง กลอง
เขี่ยสายให้เกิดเสียง แล้วใช้นิ้วมือซ้าย กดไปตาม เสียงดั่งลื้น ดั่งดินจะถล่มอันไสร้…” ส่วน
ระยะร่องของนม เป็นตัวโน้ตต่างๆ เทคนิคการ ข้อความในหลักศิลาจารึก หลักที่ ๑ มีว่า
ควบคุมไม้ดีด มีการดีดทีละเสียงไล่เรียงกัน “… ด�บงค�กลอย (กลอง) ด้วยเสียงพาทย์ เสียง
เรียกว่า “เก็บ” และดีดรัวให้เสียงโน้ตตัวเดียวกัน พิณ เสียงเลื้อน เสียงขับ..”
สั่นสะเทือนติดต่อกันยาวๆ เรียกว่า “กรอ” ในหนังสือไตรภูมิพระร่วงกล่าวสรรเสริญ
นอกจากนี้จะมีการสร้างเสียงกระทบควบสามตัว ในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิราช มีว่า “เสียงนั้น
โน้ต เรียกว่า “สะบัด” และ มีการ “รูดสาย”, ดังเพราะหนักหนา และเพราะกว่าเสียงพาทย์
“กล�้าเสียง”, “ครั่นเสียง” ในบางโอกาส เสียงพิณ ฆ้อง กลองแตรสังข์ ฟังเสียงกลองใหญ่
น�้าเสียงกระจับปี่ ตามอุดมคติของนัก กลองรวม กลองเล็ก และฉิ่งแฉ่ง บัณเฑาะว์
ดนตรีไทยสายราชส�านัก จะมีความสุภาพ เสนาะวังเวง ลางคนตีกลองตีพาทย์ฆ้องกรับ
นุ่มนวล เสียงทุ้มต�่า ไม่แข็งกระด้าง เป็นฐาน สัพพทุกสิ่ง ลางจ�าพวกดีดพิณ และสีซอพุงตอ
เสียงที่คอยรองรับหรือ “อุ้มเสียง” ของผู้ขับร้อง และกันฉิ่งริงร�าจับระบ�าเต้นเล่นสารพนักคุณ
หรือเครื่องดนตรีอื่นๆ ที่น�ามาประสมวง ทั้งหลาย สัพพดุริยดนตรีอยู่ครื้นเครง”
การประสมวงของสุโขทัยนั้นมีการบรรเลง
พิณ วงขับไม้ ปี่พาทย์เครื่องห้า วงเครื่อง
๓ ประโคม ส่วนเพลงไทยสมัยกรุงสุโขทัยไม่มี
หลักฐานระบุไว้อย่างชัดเจน
ดนตรีไทยสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
นั้นส่วนหนึ่งวิวัฒนาการมาจากสมัยสุโขทัย และ
มาจากการผสมผสานแลกรับปรับเปลี่ยนกับ
วัฒนธรรมชาติพันธุ์ต่างๆ ที่เข้ามาข้องเกี่ยวใน
๔ เชิงการเมืองเศรษฐกิจสังคม ไม่ว่าจะเป็นมอญ
เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑ 19