Page 27 - Culture1-2018
P. 27
การแต่งกายนักแสดง
ผู้เต้นรองเง็งจะแต่งกายแบบพื้นเมือง โดยผู้ชายสวมหมวก ปัจจุบันการแสดงรองเง็งปัตตานี ได้รับการสืบสานต่อเนื่อง
หนีบไม่มีปีก เรียกว่า “ซาเก๊าะลีป๊ะ” สวมเสื้อคอกลมแขนยาว ทั้งในกลุ่มศิลปินพื้นบ้าน และสถานศึกษา ทั้งประเภทรองเง็ง
ผ่าครึ่งอกสีเดียวกับกางเกง เรียกว่า “ตือโล๊ะบลางอ” นุ่งกางเกง แบบดั้งเดิม และระบ�าพื้นบ้าน โดยศิลปินซึ่งเป็นศิษย์ของ
เรียกว่า “ซาลูวากากีปันยัง” ใช้โสร่งแคบๆ ยาวเหนือเข่าสวมทับ ขุนจารุวิเศษศึกษากร ทั้งที่เป็นข้าราชการครู กลุ่มคนทั่วไป และ
กางเกง เรียก “ผ้าสลีแน” ส�าหรับผู้หญิงใส่เสื้อเข้ารูปแขนกระบอก กลุ่มศิลปินนักดนตรีรองเง็ง ซึ่งเป็นศิษย์ของอาจารย์ขาเดร์ แวเด็ง
เรียกเสื้อ “บานง” ลักษณะเสื้อจะเป็นแบบเข้ารูปปิดสะโพก ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง พ.ศ. ๒๕๓๖ (ดนตรีพื้นบ้าน
ผ่าอกและติดกระดุมเป็นระยะ สีเสื้อนิยมสีโทนเดียวกับเสื้อ รองเง็ง) ต่างมีบทบาทในการร่วมอนุรักษ์สืบสานมรดกทางวัฒนธรรม
ฝ่ายชายและเป็นสีเดียวกับ “ผ้าซาเลนดัง” สวมผ้านุ่งลาย อันเปรียบเสมือนวัฒนธรรมร่วมที่สื่อถึงความหลากหลายทางกลุ่ม
พื้นเมืองสวยงาม นอกจากนั้นยังมีเครื่องประดับศีรษะเรียกว่า ชาติพันธุ์ให้คงอยู่ในผืนแผ่นดินภาคใต้และเป็นมรดกทางวัฒนธรรม
“ปิ่นซัมเป็ง หรือปิ่นดอกไม้ไหว” และ “ดอกไม้ทัดผม” ของชาติต่อไป อ้างอิง
คณะดนตรีรองเง็งจากวงมลายูอัสลี จ.ปัตตานี ประกอบด้วย ไวโอลีน แอคคอร์เดียน โทนร�ามะนา และโหม่ง
อ้างอิง
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (๒๕๕๕). ระยะทางเที่ยวชวากว่าสองเดือน. กรุงเทพฯ : แสงดาว.
องค์การบริหารส่วนต�าบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๒, ม.ป.ท. ๒๕๔๒.
สุภา วัชรสุขุม. (๒๕๓๐). รองเง็ง : นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคใต้. กรุงเทพฯ : บริษัท ลิฟวิ่ง จ�ากัด. ๒๕๓๐.
มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๑ 25