Page 117 - Culture1-2018
P. 117
วัฒนธรรม Peranakan ได้รวมเอาการผสาน
ผสมสามชาติพันธ์ุ ในสามด้านหลักเข้าไว้ด้วยกันคือ
ความเป็นอยู่ อาหารการกิน และที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะ
ส�าหรับเรื่องที่อยู่อาศัย ยังมีค�าพิเศษอีกค�าหนึ่งขึ้นมาช่วย
อธิบายความ นั่นคือค�าว่า Chino Portuguese ซึ่งหมาย
ถึงรูปแบบสถาปัตยกรรมเฉพาะของชาว Peranakan
ซึ่งจะผสมผสานวัฒนธรรมตะวันออก จีน และอินเดีย
อาหรับ เข้ากับฝรั่งตะวันตก อันหมายถึงเฉพาะ วัฒนธรรม
โปรตุเกส ด้วยเท่านั้น
ชิโน ปอร์ตุกีส (Chino Portuguese)
คือรูปแบบของสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานระหว่าง
“ตะวันออกและตะวันตก” ในหมู่เกาะต่างๆ และแหลมมลายู
ในยุคสมัยแห่งจักรวรรดินิยมตะวันตก ในราว พ.ศ. ๒๐๕๔ อาคารตึกแถวที่มีทางเดินในร่มด้านหน้า ทะลุถึงกันโดยตลอด
เป็นต้นมา สามารถพบเห็นได้ในเมืองมะละกา และเมือง เฉพาะตัวขึ้น ท่ามกลางสังคมของกลุ่มชน ๓ เชื้อชาติ อันได้แก่
อื่นๆ อีกหลากหลาย ในประเทศอินโดนีเซีย เมืองปีนัง โปรตุเกส จีน และมลายู ในดินแดนหมู่เกาะทะเลจีนใต้
ประเทศมาเลเซีย ประเทศสิงคโปร์ รวมมาถึงประเทศไทย ต่อมาเมื่อชาวดัตช์และอังกฤษเข้ามามีอิทธิพลในดินแดนแถบนี้
ชาวโปรตุเกส ได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานและท�าการค้า ก็ได้ปรับปรุงรูปแบบของอาคารโดยดัดแปลงและเพิ่มเติมลวดลายต่างๆ
บริเวณเมืองท่ามะละกา ได้น�าเอาศิลปวัฒนธรรมตลอดจน และมีชื่อเรียกลักษณะการก่อสร้างอาคารเหล่านี้ว่า สถาปัตยกรรม
วิทยาการตะวันตกเข้ามาเผยแพร่ ทั้งยังได้สร้างบ้านและ “จีน-โปรตุเกส” ค�าว่า “Chino” หมายถึงคนจีน และค�าว่า
สถาปัตยกรรมตามรูปแบบของตน ซึ่งช่างชาวจีนได้น�าผัง “Portuguese” หมายถึง โปรตุเกส แม้ว่าอังกฤษและดัตช์จะเข้ามามี
การก่อสร้างไปด�าเนินการ แต่ลักษณะของสถาปัตยกรรม อิทธิพลในการผสมผสานศิลปะของตนเข้าไปในยุคหลังด้วยก็ตาม
ได้เพี้ยนไปจากเดิม โดยช่างชาวจีนได้ตกแต่งลวดลาย ก็ยังเรียกรวมกันว่า จีน-โปรตุเกส
สัญลักษณ์รวมถึงลักษณะรูปแบบบางส่วนของตัวอาคาร ครับ ข้อความด้านบนจาก วิกิพีเดีย ซึ่งคนสมัยนี้เขาใช้
ตามคติความเชื่อ จนเกิดการผสมผสานเป็นเอกลักษณ์ อ้างอิงกัน จากข้อความดังกล่าว เราลองมาศึกษาประวัติศาสตร์
จากคู่กรณีกันดีกว่า เริ่มแรกคือ จีน เข้ามาในดินแดนแถบนี้ตั้งแต่
สมัยราชวงศ์เหลียง ในราว พ.ศ. ๗๐๐-๘๐๐ โดยมีการพบเครื่องถ้วยจีน
พุทธศตวรรษที่ ๘-๑๖ ในบริเวณนี้
จุดส�าคัญอยู่ตรงประมาณ พ.ศ. ๑๙๔๘-๑๙๗๘ จักรพรรดิหย่ง
เล่อ แห่งราชวงศ์หมิง ส่งกองเรือส�ารวจ ค้าขาย และการทูต ภายใต้
การน�าของมหาขันทีเจิ้งเหอ ออกตระเวณสมุทร ก่อให้เกิดการค้าการ
พาณิชย์กับหมู่เกาะต่างๆ ในทะเลใต้ ความสัมพันธ์ทางการค้านั้นเจริญ
ขึ้นมากจนถึงขั้นการประสานน�้าใจด้วยการแต่งงาน จักรพรรดิจีนได้
ประทานองค์หญิงหั้นลี่เป่า มาให้อภิเษกสมรสกับสุลต่าน Lansu Shah
นับเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ Peranakan จากนั้นจึงมีการ
แต่งงานระหว่างคนจีนกับคนพื้นเมืองมุสลิม ก่อเกิดบุตราชาติผสมจีน
บริเวณหน้าบ้านของอาคารตึกแถวจัดวางประตูหน้าต่าง
ตามหลักฮวงจุ้ยจีน กับมาลายูติดตามต่อมา
มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๑ 115