Page 120 - Culture1-2018
P. 120
ห้องด้านหลังห้องรับแขกของบ้านแบบบาบ๋า เป็นห้องโถงเล็กๆ
เพื่อรองรับการพักผ่อนสบายๆ และเวลาน�้าชาตอนบ่ายของครอบครัว
จุดส�าคัญ คนจีนมาไทยกันอย่างไร จะเห็นได้ว่า อิทธิพลโปรตุเกส เมื่อ ๓๗๐ ปีก่อน
พ.ศ. ๒๓๖๘ สยาม ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ทรงท�า “สนธิสัญญา ไม่น่าจะมีทางส่งผลต่อสถาปัตยกรรมตึกรามรวมทั้ง
เบอร์นี” กับอังกฤษ ท�าให้เกิดการค้าขายระหว่างฝรั่งกับปีนัง มะละกา บ้านเรือนของเรามาถึงปัจจุบัน ดังนั้นที่มีอิทธิพลมากกว่า
สิงคโปร์ ได้โดยตรง การท�าเหมืองแร่ดีบุกในภาคใต้เจริญเติบโต น่าจะเป็นฮอลันดาที่มีต่อมะละกา และอังกฤษต่อมะละกา
“ชาวจีน” จากหมู่เกาะทั้งหลายจึงค่อยย้ายเข้าสู่สยามเข้ามาท�าเหมือง และปีนัง ส่วนสยามของเราที่รับรูปแบบสถาปัตยกรรม
กันมากขึ้น เมื่อชาวจีนเหล่านี้ร�่ารวยขึ้นจากการท�าเหมือง อาคารใน ตะวันตกเข้ามานั้น ก็เอามาจากหมู่เกาะทั้งหลายที่อังกฤษ
ภูเก็ตทั้งหลายจึงค่อยเกิดขึ้น ครอบครองอยู่ที่ศิลปในการก่อสร้างแบบฝรั่งนั้น เรียกว่า
อาคารอายุระดับ ๘๐-๑๕๐ ปี ในบ้านเราเป็นการก่อสร้างใน โคโลเนียล ไม่ใช่ ปอร์ตุกีส
สมัยและสไตล์โคโลเนียล โดยเฉพาะอาคารทางราชการ ที่รับอิทธิพล ข้อสังเกตอีกอย่าง คนจีนเข้ามาท�าเหมืองแร่ทางฝั่ง
จากยุโรปเต็มๆ ทั้งส่วนกลางคือในกรุงเทพฯ โดยเฉพาะในรัชสมัย อันดามันกันอย่างมากมาย เป็นในยุคอิทธิพลของอังกฤษ
รัชกาลที่ ๔-๖ อิทธิพลสถาปัตยกรรมนีโอคลาสิค เรอเนสซองส์ แล้ว ดังนั้นอาคารทางภาคใต้ชายฝั่งทะเลอันดามันของไทย
อีกทั้งในยุคนั้นมีคนจีนที่เติบโตในระบบราชการทางใต้มาก เช่น จริงๆ แล้วจึงควรได้รับอิทธิพลรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบ
พระยารัษฎานุประดิษฐ์ เจ้าเมืองระนอง เป็นต้น ล้วนแต่มีความสัมพันธ์ อังกฤษมากกว่าอื่นๆ อาคารเหล่านั้นได้แก่ อาคารราชการ
ทางเศรษฐกิจสองด้าน คือ ด้านการค้าแร่ดีบุก และท�าการค้าทั่วไปกับ ที่ได้รับอิทธิพลจากการเปิดรับอารยธรรมรูปแบบตะวันตก
เกาะหมาก หรือเกาะปีนัง ซึ่งเป็นอาณานิคมอังกฤษ อังกฤษ อาคารบ้านเรือนเอกชนคหบดีจีน ที่มีอิทธิพลจาก
การค้าเหมืองแร่ รวมถึงการศึกษาต่อปีนังและอังกฤษ
118