Page 118 - Culture1-2018
P. 118
พ.ศ. ๒๐๔๘ โปรตุเกส เริ่มขยายตัวจากอินเดีย
เข้ามาในดินแดนหมู่เกาะของอินโดนีเซีย โดยใช้
ช่องแคบมะละกา ในปี พ.ศ. ๒๐๕๔ โดยการน�าของ
อาฟองโซ อัลบูเคิร์ค โปรตุเกสจึงเข้ายึดมะละกา และใช้
อ�านาจควบคุมเส้นทางเดินเรือเชื่อมโยงหมู่เกาะแถบนี้
กับมหาสมุทรอินเดีย
แต่การเข้ามายิ่งใหญ่ในแถบนี้ของโปรตุเกส กลับปลุก
ให้ประเทศอื่นๆ ในยุโรปฟื้นตื่นขึ้นมา แล้วพบว่าโปรตุเกส
ประเทศเล็กๆ ยังสามารถก้าวไปได้ไกล ท�าไมประเทศ
ใหญ่ๆ ทั้งหลายที่เกรียงไกรกว่าอย่างฮอลันดา อังกฤษ
ฝรั่งเศส จะท�าไม่ได้
พ.ศ. ๒๑๘๔ ฮอลันดา ก็เข้ายึดเมืองมะละกาแทน
โปรตุเกส การยึดมะละกาของฮอลันดาครั้งนั้น ท�าให้
โปรตุเกส หมดสภาพในหมู่เกาะแถบนี้ อิทธิพลใดของ
โปรตุเกสก็ถูกแทนที่ด้วยฮอลันดา จะเห็นได้ว่าระยะเวลาที่
โปรตุเกส อยู่ในหมู่เกาะแถบนี้มีอายุสั้นๆ เพียง ๑๓๐ ปี
ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๐๕๔-๒๑๘๔ เท่านั้น ถ้านับถึงปัจจุบันที่
โปรตุเกสหายไปจากแถบนี้ก็อยู่ในราว ๓๗๐ ปีมาแล้ว
โปรตุเกสมีอิทธิพลอยู่ในย่านนี้ เพียง ๑๓๐ ปี เท่านั้น
ต่อจากนั้นจึงเป็นการเข้าครอบครองของฮอลันดา และต่อ
มาด้วยอังกฤษ ช่วง ๓๐๐ ปี ก่อนจะมีอาคารในยุคนั้น
หลงเหลือมาถึงยุคนี้ที่ไหน อย่างไร และโปรตุเกสจะมี
อาคารย่านถนนพังงาที่เจ้าของอาคารต่างคนต่างบูรณะกันตามก�าลังความสามารถ
อิทธิพลต่ออาคารบ้านเมืองของเราได้อย่างไรในสมัยนั้น ท�าให้หน้าตาออกมาแตกต่างกันไป
ที่ส�าคัญอาคารบ้านเรือนแบบที่เรียกว่า Chino Portuguese
ในประเทศไทยจน พ.ศ. ๒๕๖๑ นี้ ในปี พ.ศ. ๒๑๘๔
ตอนนั้นยังไม่ได้สร้างขึ้นมาเลยสักหลัง จุดเปลี่ยน ยุคอาณานิคม
จุดเปลี่ยนในเรื่องของอาณานิคมส�าคัญในหมู่เกาะย่านนี้ คือ
การก้าวเข้ามาของอังกฤษ เริ่มด้วยการยึดครองเกาะปีนังจากสยาม
ในราว พ.ศ. ๒๓๒๙ นับแต่นั้น อังกฤษก็ค่อยๆ คืบคลานไปเรื่อยๆ จน
ได้เมืองมะละกา และมาเลเซียผลักดันฮอลันดาออกไปไกลจากดินแดน
คาบสมุทร โปรตุเกสยิ่งไม่ต้องพูดถึง ภายหลังเหลืออาณานิคมอยู่เพียง
เกาะเดียวในแถบนี้คือที่เกาะติมอร์ ติดไปทางออสเตรเลียโน้น
แต่นับถึงตอนนี้ ฮอลันดาก็มีอิทธิพลบนมะละกามาแล้วราว
๑๔๕ ปี มีสิ่งปลูกสร้างหลงเหลืออยู่มากในมะละกา พ.ศ. ๒๓๖๗ อังกฤษ
ยึดครองสิงคโปร์ และได้พัฒนาเมืองเป็นเมืองท่าส�าคัญ เท่ากับอังกฤษ
ครอบครองช่องแคบมะละกาไว้ทั้งหมด รวมถึงยึดอินเดียไว้ตั้งแต่
การประสมประสานประตูวงโค้งแบบฝรั่งกับตึกแบบจีน ปี พ.ศ. ๒๓๐๐
116