Page 78 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 78
ภาพ ๑-๓ เพิงพักที่ถูกสร้างขึ้น
อย่างง่าย ๆ กลางป่าและพร้อม
เสมอที่จะโยกย้ายถิ่นฐานของ
ชาวมานิ
๑
โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดตรัง สถานการณ์เหล่านี้ล้วนมีผลกระทบ วัฒนธรรมมานิก็จะหายไปด้วยโดยปริยาย อย่างไรก็ตามกลุ่มชาติพันธุ์
ต่อภาษา วิถีชีวิต และวัฒนธรรมในด้านต่าง ๆ ภาษามานิเป็นภาษา มานิยังคงมีการสื่อสารด้วยภาษามานิกันภายในกลุ่ม มีการถ่ายทอด
ที่นักภาษาศาสตร์จัดให้อยู่ในกลุ่มภาษาในภาวะวิกฤตภาษาหนึ่ง ภาษาและวิถีการด�ารงชีวิตจากรุ่นสู่รุ่น รวมทั้งนักวิชาการทั้งชาวไทย
เนื่องจากเป็นกลุ่มขนาดเล็กมีประชากรไม่มาก ไม่มีภาษาเขียน และ และชาวต่างประเทศต่างเห็นคุณค่าและความส�าคัญของภาษาและ
ยังมีการรับภาษาและวัฒนธรรมของคนนอกมากขึ้นเรื่อย ๆ ถ้าไม่มี ภูมิปัญญาของกลุ่มชาติพันธุ์นี้ จึงได้พยายามศึกษา รวบรวมภาษาและ
การดูแลรักษาภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์นี้ คนรุ่นหลังอาจจะไม่ได้ยิน เรื่องราวต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์นี้ไว้ เพื่อเก็บไว้เป็นองค์ความรู้
ภาษานี้อีกต่อไป ในการถ่ายทอดและป้องกันการถดถอยของภาษาและวัฒนธรรม
ของชาติพันธุ์มานิมิให้สูญหาย
รูรักษาภาษามานิ
อนึ่ง กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ยังมีส่วนช่วย
การธ�ารงอยู่ของภาษาและวัฒนธรรมมานิมีเงื่อนไขส�าคัญ ในการสงวนรักษาภาษานี้โดยการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญา
คือความสัมพันธ์ระหว่างฐานทรัพยากรทางธรรมชาติที่เป็นต้นทุน ทางวัฒนธรรมของชาติ ประจ�าปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ โดยหวังว่าจะ
ทางวัฒนธรรม เช่น สภาพแวดล้อม พื้นที่ป่า พันธุ์สัตว์ป่า และ มีการรวบรวมเรื่องราว องค์ความรู้ และภูมิปัญญาต่าง ๆ ของกลุ่ม
พันธุ์พืชที่จ�าเป็นในการด�ารงชีวิต ถ้าสิ่งเหล่านี้สูญหายไป ภาษาและ ชาติพันธุ์นี้ให้สามารถคงอยู่ได้อย่างมีพลวัตต่อไป
76