Page 77 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 77

๓






            ภายนอกน้อยและยังคงรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้
            แต่ก็มีมานิอีกหลายกลุ่มที่ไม่สามารถด�ารงชีวิตในป่าได้อีกต่อไป
            เนื่องจากสภาพพื้นที่ป่าขาดความอุดมสมบูรณ์และลดลงเป็น
            อย่างมากจากการถูกบุกรุกพื้นที่ป่าที่เคยเป็นแหล่งอาหาร ท�าให้
            คนมานิต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้เข้ากับสภาพความเปลี่ยนแปลง
            ที่เกิดขึ้น บางกลุ่มก็เปลี่ยนมาท�าไร่ข้าว ท�าสวนยางพารา รับจ้าง
            หาของป่าออกมาขาย มีการติดต่อกับคนภายนอก รวมทั้งนโยบาย
            ของรัฐที่ก�าหนดให้ชาวมานิบางกลุ่มอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่รัฐก�าหนด
            ท�าให้เขาได้ใกล้ชิดกับวัฒนธรรมและภาษาของคนกลุ่มใหญ่ จึงท�าให้
            คนมานิได้เรียนรู้ภาษาของผู้ที่ตนติดต่อด้วยเพื่อจะได้สื่อสารกันรู้เรื่อง
            มากขึ้น ส่วนใหญ่เป็นภาษาไทยถิ่นใต้ เมื่อมีการติดต่อกับคนภายนอก  ๔
            มากขึ้น จนมีบางพื้นที่ที่เยาวชนมานิเกือบจะพูดภาษามานิไม่ได้แล้ว



                                                                                             ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐    75
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82