Page 29 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 29

๓                                                      ๔


         ภาพ ๑ ไม้ที่ใช้ท�าปินหากจะให้ดีที่สุดต้องใช้ไม้ประดู่ เพราะให้เสียงหนักแน่น นุ่มนวล  ภาพ ๒ การท�าสะล้อจะเลือกใช้กะลามะพร้าวจากภาคใต้ แถวทับสะแกหรือเกาะสมุย
         ภาพ ๓ วงสะล้อ ซอ ปิน คณะซออรุณศิลป์ พวกเขาแต่งกายด้วยผ้าพื้นเมืองน่านจนเป็นเอกลักษณ์ โดยฝ่ายหญิงนั้นจะทอซิ่นลายน�้าไหลด้วยตนเอง  ภาพ ๔ ขันครูส�าหรับ
         ไหว้ครูก่อนจะเริ่มต้นการแสดง ทั้งนี้หัวหน้าคณะจะเป็นคนตั้งขันบูชาครูทางด้านหน้า  ภาพ ๕ ช่างฟ้อนสาวก�าลังฟ้อนแง้น คือการฟ้อนในท่าสะพานโค้งที่ต้องอาศัยการฝึกฝน
         เจ้าภาพหรือคนดูจะน�าธนบัตรวางไว้ให้ช่างฟ้อนฟ้อนแง้น เมื่อหงายจนศีรษะจดพื้น ช่างฟ้อนจะใช้ปากคาบธนบัตรขึ้นมา และถือว่าเป็นสินน�้าใจส�าหรับทุกคนในคณะ














































        ๕


                                                                                             ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐    27
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34