Page 31 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 31
คณะซออรุณศิลป์เปิดการแสดงด้วยซอดาดน่าน ซึ่งเป็น
ท�านองซอที่ได้รับความนิยมมาก ถือเป็นซอบทครู เพราะช่างซอส่วน
ใหญ่จะซอดาดน่านเป็นท�านองแรกในการแสดงเสมอ หลังจากนั้น
แม่ครู ที่ตอนนี้ถือประวัติพ่อนาคอยู่ในมือ ก็เริ่มขับซอกล่าวถึง
รายนามผู้เกี่ยวข้อง สลับการขับขานว่าด้วยเรื่องของพระคุณบิดา-
มารดา ขณะเดียวกันเมื่อเห็นบุคคลส�าคัญมาร่วมงาน แม่ครูก็จะ
ขับซอทักทาย สร้างความพอใจให้แขกคนส�าคัญไม่น้อย
ดูเหมือนว่าการจดจ�าท�านองเพลงซอได้อย่างขึ้นใจเพียง
อย่างเดียวอาจไม่เพียงพอส�าหรับช่างซอ ปฏิภาณไหวพริบ ความจ�า
บานเดน และความรู้รอบตัว ยังจ�าเป็นอย่างยิ่ง เพื่อช่างซอจะได้หยิบยก
ต�าบลไชยสถาน จังหวัดนาน สถานการณ์ หรือสิ่งรอบข้างมาประกอบการขับซอได้อย่างรวดเร็ว
และแม่นย�า รวมไปถึงการโต้ตอบกับคู่ของตนอย่างทันท่วงที
คือต้องทันกันนั่นเอง
ในงานอุปสมบทของ นัฐพล มหายศนันท์ พ่อของเขาซึ่ง ช่วงหนึ่งของเพลงซอแม่ครูกล่าวถึงยายของพ่อนาคซึ่งล่วงลับ
อันที่จริงก�าลังวุ่นอยู่กับการเตรียมงาน ถึงกับยกนิ้วโป้ง เป็นสัญลักษณ์ ไปแล้ว โดยขับซอเป็นท�านองว่าวันนี้หลานชายจะบวชเรียน ไม่ว่า
เชิงยอดเยี่ยม เมื่อถามถึงคณะซออรุณศิลป์ที่ทางครอบครัวว่าจ้าง ดวงวิญญาณจะอยู่แห่งหนไหน ขอให้รับรู้และร่วมยินดี ช่วงแรก ๆ
ให้มาแสดงตั้งแต่เช้าจดบ่าย การขับซอเน้นไปที่เรื่องราวของตัวพ่อนาคและเจ้าภาพ ล่วงเข้าสาย
เสียงเพลงแหล่จากล�าโพงขนาดใหญ่ดังขจรขจายไปทั่วหมู่บ้าน ถึงเวลาโกนผมนาคและอาบน�้านาค พ่อครู-แม่ครูก็ขับซอเกี่ยวกับ
พ่ออุ๊ยแม่อุ๊ยทยอยเดินทางมา ต่างนั่งลงตรงโต๊ะที่จัดเตรียมไว้ สักพัก พิธีในส่วนนี้ กระทั่งใกล้พิธีบายศรีสู่ขวัญจะเริ่มต้น ซึ่งคณะซอ
คณะซออรุณศิลป์ก็มาถึง พ่อครูอรุณศิลป์สวมชุดพื้นเมืองดูภูมิฐาน จะต้องหยุดการแสดงในช่วงนี้ เจ้าภาพก็น�าสินน�้าใจมาวางให้ช่างฟ้อน
แม่ครูสมพรสวมซิ่นลายน�้าไหลสีแดงเลือดหมูและเสื้อเข้าชุด ทั้งสอง ฟ้อนแง้นรับไปอย่างยิ้มแย้ม
ท�าหน้าที่ขับซอคู่กัน หรือที่เรียกว่า คู่ถ้อง ช่างฟ้อนเป็นหญิงสาว ๒ คน หลังผ่านพ้นพิธีที่เป็นทางการ ช่วงท้ายของการแสดงเป็นการ
อรชรอ้อนแอ้น แต่งหน้าสวยงาม และนักดนตรีหนุ่มอีก ๒ คน คน ขับซอแบบสนุก ๆ เกี้ยวกันบ้างระหว่างพ่อครู-แม่ครู โดยปราศจาก
หนึ่งเล่นปิน อีกคนหนึ่งเล่นสะล้อ รวมทั้งหมด ๖ คน ค�าพูดประเภทสองแง่สองง่ามหรือหยาบคาย เมื่อใกล้จบก็ถึงเวลา
เพลงแหล่ถูกปิด ได้ยินเสียงแขกเหรื่อคุยกันพึมพ�า คณะซอ สรุปความส�าคัญของงานและขออภัยผู้ชมหากขับซอออกไปแล้ว
อรุณศิลป์นั่งลงกับพื้นเวที วางเครื่องดนตรีไว้ทางด้านซ้าย โดยมีข้อห้าม ท�าให้ระคายหูไม่ถูกใจ
คือ จะไม่ให้ใครเดินข้ามเครื่องดนตรีเด็ดขาด พ่อครูตั้งขันบูชาครู บ่ายแก่ วงสะล้อ ซอ ปิน สิ้นสุดการแสดงไปพักใหญ่แล้ว พ่ออุ๊ย
ทางด้านหน้า ทั้งนี้การแสดงซอจะเริ่มด้วยพิธีไหว้ครู โหมโรง เกริ่น แม่อุ๊ยทยอยเดินทางกลับ เสียงเพลงแหล่กระหึ่มขึ้นมาจากล�าโพง
เข้าสู่เนื้อหา และบทลา ดูเหมือนการแสดงของคณะซออรุณศิลป์ อีกครั้ง ไกลออกไปคือภาพของทุ่งนาแผ่ไพศาล นึกถึงสมัยก่อนที่
จะเริ่มขึ้นในไม่ช้า แม่ครูสมพรเล่าว่าเวลาพ่อครูไชยลังกามาที่หมู่บ้าน หนุ่มสาวทุกคน
เจ้าภาพน�ากระดาษขนาด A4 มายื่นให้พ่อครู สิ่งนี้เองที่ จะไปออกันต้อนรับและขอฝากตัวเป็นลูกศิษย์ลูกหา พ่อครูก็เอื้อเอ็นดู
ทุกคนรออยู่ ในนั้นมีลายมือเขียนถึงประวัติของพ่อนาค รวมถึง สอนเพลงซอให้โดยไม่เกี่ยงว่าใครจะอยู่คณะไหน
รายนามเจ้าภาพและบุคคลที่มาร่วมงาน เพื่อให้พ่อครู-แม่ครูใช้
ในการขับซอ จะว่าไปแล้วเรื่องราวในส่วนของเจ้าภาพนี้ คือเนื้อหา เวลาล่วงเลยผ่าน หนุ่มสาวในวันนั้นบางคนยังยึดมั่นสิ่งที่
ส�าคัญที่คณะซอแต่ละคณะจะหยิบยกมา “ด้นสด” ให้กินใจผู้ชม พ่อครูเพียรสอน และถ่ายทอดภูมิปัญญาล�้าค่านี้แก่คนรุ่นลูก
ที่สุด และหากทางเจ้าภาพกับคณะซอรู้จักกันมาก่อนหน้านี้แล้ว หลาน วงสะล้อ ซอ ปิน จึงยังคงบรรเลงแว่วหวาน มอบอรรถรส
ก็จะยิ่งง่ายส�าหรับการขับซอ แห่งถ้อยค�าที่แสนเอิบอิ่มอยู่ที่ไหนสักแห่งในเมืองน่าน
ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐ 29