Page 103 - Culture4-2017 วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๐
P. 103
ภาพ ๑ บั๊นหมี่ ร่องรอยอารยธรรมฝรั่งเศสที่แนบแน่นในเวียดนาม
ภาพ ๒ คานาเป้ที่ท�าจากบาแก็ตแบบชาวตะวันตก ภาพ ๓ ข้าวจี่
ไข่กระทะ และข้าวต้มเส้น อาหารเช้ายอดนิยมของชาวไทย
ริมฝั่งโขง อิทธิพลของวัฒนธรรมเวียดนาม ภาพ ๔ บาแก็ต
สอดไส้ซึ่งแต่ละแห่งก็จะมีไส้ที่แตกต่างกัน ภาพ ๕ ไส้ที่มีให้เลือก
อย่างหลากหลายตามแต่ละถิ่นนับเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งของขนมปัง
ชนิดนี้
ขนมปังชนิดนี้มาเช่นกัน ข้าวจี่ที่ในบางพื้นที่เรียกว่า
“แป้งจี่” จะแตกต่างกันไปมีทั้งแบบขนมปังชิ้นใหญ่
เช่นเดียวกับลาว และข้าวจี่ขนาดเล็กที่นิยมกินพร้อมไข่
๕ กระทะโดยน�าขนมปังไปปิ้ง ผ่าออกทาเนยใส่ไส้หมูยอ
และกุนเชียง เพียงเท่านี้นับว่าเรียบง่ายที่สุดในบรรดา
แซนด์วิชทั้งปวง ขนมปังของไทยไม่ได้มีผิวแข็งกรอบ
ทาด้วยแจ่วบองที่คล้ายกับน�้าพริกเผา แล้วใส่แตงกวา ไข่เจียวซอยเป็นเส้น หมูยอ แต่ผิวจะเหนียวนุ่มเช่นเดียวกับเนื้อขนมปัง
เส้น ราดด้วยซอสมะเขือเทศ
ส่วนชาวกัมพูชาเรียกว่า “นมปัง ปาเต” ซึ่งการที่มีค�าว่าปาเตนั้นไม่ได้ ขนมปังฝรั่งเศสได้รับความนิยมเพียงใดคง
หมายความว่าแซนด์วิชนั้นจะทาด้วยตับบดเสมอไป เพราะบางร้านก็ไม่ได้ทา เห็นได้จากร้านค้าต่าง ๆ ในเขตชุมชนที่จะมีเข่ง
แต่ทาเนยเป็นหลักแล้วใส่ไส้หมูสับผัดปรุงรสมาเรียบร้อย หรือเราอาจอนุมาน หรือแผงขายขนมปังวางเรียงรายกันมากมายทั้ง
เอาว่าหมูสับผัดนี้หมายถึงปาเต ซึ่งในต�าราอาหารฝรั่งเศสดั้งเดิมนั้นปาเตไม่ได้ ในสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ราชอาณาจักร
หมายถึงตับบด แต่หมายถึงเนื้อบดผสมไขมันสัตว์ ปรุงรสแต่งกลิ่นด้วยเครื่องเทศ กัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ไวน์ หรือเหล้า ส่วนปาเตที่ผสมตับด้วยเป็นเพียงสูตรหนึ่งของปาเตเท่านั้น แซนด์วิชขนมปังฝรั่งเศสนอกจากจะแพร่หลาย
นมปัง ปาเตของชาวกัมพูชาใส่ไส้หมูยอหั่นเป็นแผ่น หมูสามชั้นพะโล้ ในอดีตประเทศอินโดจีนของฝรั่งเศสแล้ว ยังได้
หมูสับ ต้นหอม เหยาะซอสถั่วเหลือง ใส่ผักดอง ได้แก่ แตงกวา แครอต และมะละกอ เดินทางไปทั่วโลกตามการลี้ภัยอพยพโยกย้ายถิ่น
เครื่องไม่มากเหมือนของเวียดนามและลาว จากอินโดจีนไปยังประเทศต่าง ๆ ในยุโรปและ
ในประเทศไทยแม้ว่าเราไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของอินโดจีนฝรั่งเศส แต่วัฒนธรรม อเมริกา จึงกล่าวได้ว่าขนมปังแซนด์วิชแบบนี้
หาได้ขีดกั้นได้ด้วยเส้นพรมแดน ชาวอีสานในจังหวัดแถบริมแม่น�้าโขงจึงรับเอา ได้แพร่หลายเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก
บรรณานุกรม
- Julia Child, Simone Beck and Louisette Bertholle. Mastering the Art of French Cooking, Volume 1&2. New York: Alfred A. Knopf, 2011.
- Tom Standage. ประวัติศาสตร์กินได้. แปลโดย โตมร ศุขปรีชา. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ : ส�านักพิมพ์ openworlds, ๒๕๕๔.
- เฉลิม ยงบุญเกิด. บันทึกว่าด้วยขนบธรรมเนียมประเพณีของเจินละ. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : ส�านักพิมพ์มติชน, ๒๕๕๗.
- เพียสิง จะเลินสิน. ต�ารับอาหารพระราชวังหลวงพระบาง. แปลโดย จินดา จ�าเริญ. กรุงเทพฯ : ส�านักพิมพ์ผีเสื้อลาว, ๒๕๕๓.
- นันทนา ปรมานุศิษฏ์. “บั๊นหมี่แซนด์วิช บาแก็ตสอดไส้.” เส้นทางเศรษฐี, วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘, ปีที่ ๒๑, ฉบับที่ ๓๗๒ : หน้า ๕๔.
- ลาลูแบร์, มองซิเออร์ เดอ. จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : ส�านักพิมพ์ ศรีปัญญา,
๒๕๕๒.
- “ความจริงครึ่งเดียวของบาแก็ตต์ ขนมปังฝรั่งเศส กับบั๋นหมี่ไร้ชื่อ ที่ยอดเยี่ยมสุดในโลก.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.matichonweekly.
com/culture/article_6850 สืบค้น กรกฎาคม ๒๕๖๐.
ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐ 101