Page 93 - Culture3-2017
P. 93
๒
ภาพ ๑ ครูเผือน คงเอียง ครูช่างผู้สืบต่อลมหายใจให้กับงานจักสานย่านลิเภา
ภาพ ๒ กระเป๋าย่านลิเภาที่ประดับตกแต่งด้วยเงิน ทอง และอัญมณีมีค่า
เพิ่มความงดงามและคุณค่าให้กับชิ้นงานจักสาน ภาพ ๓ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถทอดพระเนตรต้นย่านลิเภาขึ้นอยู่ทั่วไปในป่าจังหวัดนราธิวาส
ภาพ ๔ ย่านลิเภา ๑ มัดมี ๑๐๐ เส้น แต่เส้นที่มีคุณภาพดีพอที่จะน�ามาจักสาน
ได้นั้นมีเพียง ๒๐ เส้นเท่านั้น ๓
แบบพิมพ์ใด ๆ การขึ้นรูปทรงจึงก�าหนดด้วยใจ ให้โค้งอ่อนไปตาม
จินตนาการของช่างศิลป์ผู้สาน แล้วสอดเส้นย่านลิเภาสานอย่าง
ละเอียดสลับลวดลาย ปิดท้ายด้วยการเคลือบเงา งานแต่ละชิ้น
จึงใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๔๕ วัน ชิ้นที่มีความยากและมีขนาดใหญ่กว่า
จะส�าเร็จก็กินเวลาหลายเดือน
“คนที่จะสานย่านลิเภาได้ต้องมีตาดี สมาธิดี โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งความรักในงานต้องเป็นอันดับหนึ่ง งานจักสานไม้ไผ่ลายขิด
และสานย่านลิเภาซึ่งเป็นงานที่ยาก ถ้ามีใครมาสมัครเรียนผมจะรับ
ทันที เพราะถ้าเขาตั้งใจมาแล้วเราจะรับ พระองค์ท่านทรงส่งเสริม
ให้ชาวบ้านมีวิชาชีพ ผมคิดเสมอว่าว่าเกิดเป็นคนไทยนี่มีบุญ มีชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะสถาบันพระมหากษัตริย์นั้น ๔
วิเศษกว่าที่อื่น ประชาชนเดือดร้อนที่ไหน ประชาชนประสบภัยพิบัติ
ที่ไหน น�้าตาตกที่ไหน พระองค์ท่านทรงไปซับน�้าตาให้ ผมเคยพูด
เช่นนี้ต่อหน้าพระพักตร์ พอพูดจบทรงตรัสว่า “พูดเก่งนะ พูดให้คน เป็นเวลากว่า ๓๕ ปี ที่ครูเผือนได้อุทิศตนสร้างช่างฝีมือ
รักชาติ ให้อยู่ที่นี่นาน ๆ นะ ช่วยกันสร้างความสามัคคี” ผมกราบทูล จักสานย่านลิเภาจ�านวนหลายร้อยคนขึ้นมาที่ศูนย์ศิลปาชีพ
ตอบรับว่าพระพุทธเจ้าข้า ผมเป็นโรคหัวใจจะตาย แม่บ้านก็เป็น บางไทร จนถึงวันนี้แม้ว่าครูเผือน คงเอียง มีอายุ ๘๒ ปีแล้ว
ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณรับไว้เป็นคนไข้ในพระองค์ เมื่อได้เข้าเฝ้า แต่ก็ยังตั้งใจสืบสานเส้นสายย่านลิเภาให้เป็นมรดกอันน่า
ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาทก็รู้สึกอบอุ่นเหมือนอยู่ใกล้แม่ที่ทรง ภาคภูมิใจของชาติ
เป็นแม่ของแผ่นดิน ผมไม่มีอะไรจะถวายตอบแทนในพระเมตตา “ผมไม่ห่วงว่างานสานย่านลิเภาจะสูญหาย เพราะยังมี
ของท่าน ผมได้บวชและอุทิศร่างกายถวายเป็นพระราชกุศล” คนที่รักงานนี้อยู่”
กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐ 91