Page 91 - Culture3-2017
P. 91

๓





                  ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว งานจักสาน  เขาก็ตื่นเต้นบอกว่า แหมนี่เป็นใยอะไรถึงได้สวยงามและอยู่ได้
            ย่านลิเภาเป็นที่นิยมในหมู่เจ้านายชั้นสูง เนื่องจากเจ้าพระยายมราช  ทนทานกว่าหวายอยู่ถึง ๑๐๐ ปี สียิ่งขรึมไป สวยเป็นมันอยู่ในที
            (ปั้น สุขุม) ซึ่งขณะนั้นด�ารงต�าแหน่งพระยาสุขุมนัยวินิต สมุหเทศา-  สวยกว่าถักใหม่ ๆ อีก...”
            ภิบาลมณฑลนครศรีธรรมราช ได้ฟื้นฟูการจักสานย่านลิเภาขึ้น            (พระราชด�ารัส สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

            และแพร่หลายเข้าไปในวัง งานชิ้นหนึ่งที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์   ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
            พระบรมราชินีนาถทรงพบคือ กล่องที่สานด้วยย่านลิเภาของสมเด็จ-   เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๑ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา)
            พระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ที่มีรูปทรง
            คล้ายหนังสือที่มีสันหนา อายุประมาณกว่า ๑๐๐ ปี แต่ยังมีสภาพ  ย่านลิเภาพันธุ์ที่น�ามาใช้จักสานได้คือ ย่านลิเภาใหญ่ เพราะ
            สมบูรณ์ ทรงน�ากล่องย่านลิเภาใบนี้มาเป็นต้นแบบให้ศึกษา  มีล�าต้นตรงและมีคุณภาพดีที่สุด ความมหัศจรรย์ของย่านลิเภาคือ
                                                                 เส้นเล็ก มีคุณสมบัติเหนียวคงทน เมื่อน�ามาสานเป็นเครื่องใช้ก็จะ
                  “ย่านลิเภานี่ทีแรกข้าพเจ้าคิดว่าเป็นหญ้าชนิดหนึ่ง แต่ตอนหลัง  ทนทานใช้ได้นานนับศตวรรษ มีสีสันสวยงามตามธรรมชาติ คือ
            เห็นชาวต่างประเทศเขาสนใจมาก จึงได้ทราบว่า เป็นใยชนิดหนึ่ง   สีน�้าตาลและสีด�า ซึ่งสีน�้าตาลนั้นก็มีอ่อนแก่ เวลาสานต้องเลือกใช้
            อยู่ในตระกูลของเฟิร์น แข็งแล้วเหนียวมาก เหนียวแล้วอ่อนสลวยเชียว  เฉพาะสีที่เหมือนกันและเลือกเฉพาะเส้นที่ได้คุณภาพ ฉะนั้นใน
            ถักได้อย่างงดงาม สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  หนึ่งมัดที่มี ๑๐๐ เส้นจะใช้ได้ราว ๒๐ เส้นเท่านั้น สีที่หายากคือ
            ก็โปรดให้สมเด็จพระบรมราชินีต่าง ๆ ถือซึ่งบัดนี้อายุกว่า ๑๐๐ ปี  หน้าน�้าตาลหลังขาว โดยด้านหลังที่เป็นสีน�้าตาลอ่อนจะใช้ท�า
            ก็ยังอยู่สวยงาม เมื่อคราวท่านนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นมาข้าพเจ้าก็ให้ดู   ลวดลาย เช่น ลายคชกริชและลายพิมพ์ทอง



                                                                                           กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐    89
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96