Page 90 - Culture3-2017
P. 90

ราชเลขาฯ น�าไปทูลเกล้าฯ ถวาย พระองค์ทรงรับสั่งว่า “ให้ครูเผือน  เส้นทางสายย่านลิเภาจากป่า
          ท�าฟักทอง ออกมาเป็นน�้าเต้า แต่ก็น่ารักดี” ผมก็เลยท�ากระเป๋า สู่งานหัตถกรรม

          ฟักทองอีกใบถวาย
               จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ทรงเปิดศูนย์ศิลปาชีพบางไทร     “...ย่านลิเภานี้เป็นศิลปะเก่าแก่ของบรรพบุรุษเรา แล้ว
          แผนกแรก ๆ คือ สานย่านลิเภา จักสานไม้ไผ่ ทอผ้าไหม และทอจก   ก็วัตถุดิบก็เกิดขึ้นเองภายในประเทศคือ ทางภาคใต้ที่ฝนตกมาก
          มีทั้งหมด ๔ แผนก พระองค์ท่านให้แม่ทัพภาคที่ ๑ (พลโท ปิ่น ธรรมศรี)   ตัวย่านลิเภานั่นก็คือเป็นวัชพืชชนิดหนึ่ง ที่ขึ้นเองรกโดยธรรมชาติ
          ขอตัวผมมาสอน สอนครบ ๓ เดือนก็กลับไปประจ�าที่กองทัพ   ใต้ต้นยาง ใต้สวนยางปิดดินชุ่มชื่น และที่ภาคใต้ใช้ได้ดี เพราะว่า
          เมื่อพระองค์เสด็จฯ แปรพระราชฐานไปที่ทักษิณราชนิเวศน์ใน  ฝนตกมาก ท�าให้เกิดความเหนียว ท�าให้เส้นเหนียว แล้วก็อยู่ได้
          เดือนสิงหาคม ทางราชเลขานุการในพระองค์ก็มาขอตัวผมให้  เป็นร้อยปี... ถ้าแม้นว่าทิ้งให้แก่กับต้นแล้วใยของเขาจะเหี่ยวอยู่ได้
          ไปสอนพี่น้องมุสลิมที่นราธิวาส                       เป็นร้อยปี โดยไม่มีตัวแมลงมากัดกินเลย เพราะฉะนั้นเรียกได้ว่า
               คืนหนึ่งผมนอนอยู่ที่กองรักษาการซึ่งอยู่ระหว่างทาง  เป็นพืชเศรษฐกิจที่ยอดเยี่ยมที่สุดของเมืองไทย...”

          เสด็จฯ ผ่าน เห็นว่า ๔-๕ ทุ่มแล้ว พระองค์เพิ่งเสด็จฯ กลับ ผมก็คิดว่า   (พระราชด�ารัส สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
          พระเจ้าแผ่นดินอะไรต้องเหนื่อยขนาดนี้ ผมนอนหลับไปตื่นหนึ่งแล้ว  ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
          พระองค์เพิ่งเสด็จฯ กลับจากเยี่ยมชาวบ้าน ผมนั่งนึกในใจว่าถ้ามี   เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา)
          โอกาสจะไปรับใช้ด้วยความยินดีโดยไม่หวังผลตอบแทนใด ๆ ทั้งสิ้น
          พอสิ้นเดือนสิงหาคมพระองค์เสด็จฯ กลับ ผมกลับมากองทัพได้สัก   ย่านลิเภาเป็นเฟิร์นเถาชนิดหนึ่งที่ทอดเถาพันไปบนต้นไม้ใหญ่
          ๑๐ วัน ราชเลขานุการในพระองค์ก็ขอตัวมาอยู่ที่บางไทร ตั้งแต่ปี  ขึ้นในป่าทางภาคใต้ที่มีอากาศชื้นฝนตกชุก โดยมีมากที่จังหวัด
          พ.ศ. ๒๕๒๔ นับแต่เริ่มเปิดสอนที่นี่ ซึ่งเป็นแผนกแรกและผมเป็น  นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี และนราธิวาส พบว่ามีการท�าเครื่องใช้
          ครูคนแรกที่มาจากข้างนอก”                            และภาชนะต่าง ๆ จากย่านลิเภามาตั้งแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
               นับแต่นั้นครูเผือนก็ได้เป็นครูสอนย่านลิเภาที่ศูนย์ศิลปาชีพ โดยเฉพาะที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ชาวบ้านจะน�ามาสานเป็น
          บางไทรมาจวบจนทุกวันนี้                              กระเชอกุบหมาก กล่องยาเส้น พาน เชี่ยนหมาก ป้านชา กล่อง
                                                              ขันใส่ของ กรงดักนก และเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ

















             ๑






          ภาพ ๑-๒ การจักสานย่านลิเภาจะเลือกใช้เส้นย่านลิเภาที่มีสีอ่อนแก่มาสานสลับ
          ให้เกิดลวดลายและสีสันงดงามตามธรรมชาติ  ภาพ ๓ เส้นย่านลิเภาที่ขูดจน
          เรียบจนเส้นเล็กละเอียด น�ามาสานกับหวายที่ขึ้นโครงด้วยมือ
                                                                 ๒


          88
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95