Page 86 - Culture3-2017
P. 86

๑                         ๒                         ๓

          ภาพ ๑-๓ สุวัฒน์ วรดิลก กับ เพ็ญศรี พุ่มชูศรี เป็นคู่สามี-ภรรยาที่ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ
          ภาพ ๔-๕ ประวัติและตัวอย่างผลงานของ สุวัฒน์ วรดิลก ที่จัดแสดงภายในห้องศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ณ หออัครศิลปิน






          ช่วงชีวิตของนักคิด นักเขียน กับการเมือง          ผลงานจารึกไว้ในแผ่นดิน

               วันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๐๑ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์      ผลงานการประพันธ์ของ สุวัฒน์ วรดิลก ตลอด ๔๐ ปี มีทั้งเรื่องสั้น
          กวาดล้างจับกุมนักคิดนักเขียนครั้งใหญ่ สุวัฒน์ วรดิลก และ   นวนิยาย บทละครโทรทัศน์ บทละครวิทยุ บทภาพยนตร์ บทละครเวที
          เพ็ญศรี พุ่มชูศรี ภรรยา ถูกจับกุมคุมขังและตั้งข้อหาร้ายแรงคือ   และสารคดี ที่มากที่สุดคือ นวนิยาย ซึ่งมีถึง ๘๘ เรื่อง โดยเริ่มใช้
          หมิ่นพระบรมเดชานุภาพและมีการกระท�าอันเป็นคอมมิวนิสต์   นามปากกา รพีพร ในการเขียนนวนิยายเรื่อง “ภูตพิศวาส” ที่ได้รับการ
          ระหว่างถูกขังอยู่ในคุกและต่อสู้คดีในชั้นศาล ผลงานของเขา  ตีพิมพ์ในหนังสือแสนสุขรายสัปดาห์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕ และเรื่องที่สอง
          ที่ออกมาในช่วงนั้นต่างถูกระงับ ขณะนั้น ชาลี อินทรวิจิตร    คือ “ลูกทาส” ส่งผลให้ชื่อ รพีพร โด่งดัง สามารถกอบกู้ฐานะทางการ
          ได้ตั้งคณะละครโทรทัศน์ขึ้น จึงชวนสุวัฒน์มาเขียนบทละคร  ประพันธ์ เศรษฐกิจและสังคมได้ในเวลาอันรวดเร็ว ต่อมาจึงเกิดนามปากกา
          โทรทัศน์ และเมื่อน�าเรื่อง “God sees the truth but   ไพร วิษณุ ไว้เขียนนวนิยายชีวิตโลดโผนประเภทป่าเขาล�าเนาไพร ศิวะ รณชิต

          waits” ของ ลีโอ ตอลสตอย มาเขียนเป็นบทละครเรื่อง   เขียนนวนิยายการเมือง และ สันติ ชูธรรม ใช้เขียนนวนิยายการเมือง
          “พระเจ้ารู้ทีหลัง” ก็ประสบผลส�าเร็จจนท�าให้ ชาลี อินทรวิจิตร    เพียงเรื่องเดียวคือ “พ่อข้าเพิ่งจะยิ้ม” (เดิมชื่อ พ่อข้าไม่ผิด)
          ถูกหัวหน้าสถานีโทรทัศน์เรียกตัวไปสอบถาม ต่อมามีเรื่องชุด  ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ สุวัฒน์ได้ตั้งชมรมนักเขียน ๕ พฤษภา
          พระเจ้าออกมาอีก ๒ เรื่องคือ “พระเจ้ารู้ก่อนเสมอ” และ   โดยเป็นประธานชมรม มีจุดประสงค์เพื่อหาเงินช่วย เลียว ศรีเสวก
          “พระเจ้าไม่รับรู้” และเมื่อย้ายมาอยู่คุกสองที่ลาดยาว สุวัฒน์  เจ้าของนามปากกา อรวรรณ เพื่อนนักเขียนที่แพทย์สันนิษฐานว่าเป็น
          รับจ้างเขียนบทละครวิทยุให้กับธนาคารออมสิน เรื่องแรกคือ    มะเร็งที่หลอดลม ถูกตัดหลอดเสียงออก ต่อมาชมรมนี้ได้พัฒนาเป็น
          “ผีก็มีหัวใจ” ใช้นามปากกา ยุพดี เยาวมิตร         สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔
               สุวัฒน์ วรดิลก ได้รับอิสรภาพเมื่อวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๐๕   หลังเหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ สุวัฒน์ วรดิลก หันมาสนใจงาน
          (เพ็ญศรี พุ่มชูศรี ภรรยาได้รับการปล่อยตัวออกมาก่อนแล้ว)    ที่มีเนื้อหารับผิดชอบต่อสังคมและแนวการเมือง จึงน�าเรื่อง “พิราบแดง” ที่
          ได้กลับไปอุปสมบทที่อ�าเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ตามค�าแนะน�า   เขียนค้างไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๑ มาเขียนต่อจนจบ และเขียนเรื่องใหม่ในชุด
          ของบิดาและผู้บังคับการต�ารวจสันติบาล (พล.ต.ต. ชัช ชวางกูร)   “แผ่นดิน” ได้แก่ แผ่นดินเดียวกัน แผ่นดินของเขา ฝากไว้ในแผ่นดิน เขียน
          หลังจากลาสิกขาบทแล้วจึงได้กลับมาเขียนนวนิยายอีกครั้ง  นวนิยายสะท้อนสังคม เช่น นกขมิ้นบินถึงหิมาลัย คามาล พิราบเมิน เป็นต้น



          84
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91