Page 85 - Culture3-2017
P. 85

นวนิยาย บทละครเวที                                   ทิฆัมพร แห่งคณะศิวารมณ์ ได้รับการติดต่อขอซื้อ “เปลวสุริยา”

            ศาสตร์อีกแขนงที่ท�าส�าเร็จ                           เพื่อท�าละคร สุวัฒน์ตัดสินใจเขียนบทละครเอง โดยได้รับค�าแนะน�า
                    ผลงานนวนิยายของ สุวัฒน์ วรดิลก เริ่มปรากฏใน วิธีการเขียนจากครูเนรมิต ท�าให้ “เปลวสุริยา” เป็นบทละครเวที
            หน้านิตยสารหลังจากที่เขียนเรื่องสั้นมาได้ ๒ ปี ผลงานเรื่องแรก   ที่สมบูรณ์เรื่องแรก
            “เปลวสุริยา” ในปิยะมิตร ได้รับการตอบรับอย่างดี และท�าให้   ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๙๑–๒๔๙๔ สุวัฒน์มุ่งมั่นเขียนบทละคร
            ยอดจ�าหน่ายของหนังสือเล่มนี้พุ่งสู่ความนิยมสูงสุดในช่วงต้น เวทีอย่างมาก จนกลายเป็นผู้เชี่ยวชาญถึงขั้นสามารถก�าหนด

            ทศวรรษ ๒๔๙๐ ผลส�าเร็จจากเรื่อง “เปลวสุริยา” ท�าให้เกิด  ผู้ชมได้ล่วงหน้าว่าจะให้ชอบตอนใดบ้าง โดยใช้กลวิธีการเขียน
            ผลงานเรื่อง “ราชินีบอด” และเรื่องอื่น ๆ ตามมา ซึ่งสร้างชื่อเสียง  ให้มีภาวะวิกฤต (Climax) ในทุก ๆ ฉาก เขาได้ทุ่มเทให้กับ
            ให้สุวัฒน์เป็นนักประพันธ์ผู้รุ่งโรจน์แห่งยุค และท�าให้ยึดการประพันธ์ งานละครเวทีอย่างถึงที่สุด นับเป็นผู้บุกเบิกวงการละครเวที
            เป็นอาชีพเรื่อยมา                                    ของไทยที่ท�าหน้าที่ทั้งเขียนบท ก�ากับการแสดง อ�านวยการแสดง
                  ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๒ ละครเวทีไทยเป็นมหรสพ  และตั้งคณะละคร “ชุมนุมศิลปิน” ขึ้นโดยมีบทบาทในการต่อสู้
            ที่ได้รับความนิยมมาก เนื่องจากภาวะสงครามท�าให้อุปกรณ์ในการ เพื่อวงการละครมากมาย เช่น การพยายามวางหลักการและจัดระบบ
            ถ่ายท�าภาพยนตร์ขาดแคลน ไม่สามารถผลิตภาพยนตร์ป้อนแก่  แบ่งผลก�าไรเพื่อให้ความเป็นธรรมแก่นักแสดง จนกระทั่งถึงปลายปี
            โรงภาพยนตร์ได้ ละครเวทีจึงมีบทบาทส�าคัญขึ้นแทน       พ.ศ. ๒๔๙๕ ละครเวทีเริ่มเสื่อมความนิยมลง สุวัฒน์ลองหัดเขียน
                    สุวัฒน์เริ่มเขียนบทละครเวทีเรื่องแรกจากผลงานของ บทภาพยนตร์แต่ไม่ชอบ จึงกลับมาเขียนนวนิยายอีกครั้ง
            ตนเองคือ “สัญญารักของจอมพล” ให้คณะเทพอ�านวย แต่
            ไม่ประสบผลส�าเร็จเนื่องจากยังไม่มีความรู้เรื่องการเขียนบทละคร
            เท่าที่ควร ต่อมาได้รู้จักกับ จุมพล ปัทมินทร์ และ น.อ. สวัสดิ์



                                                                                           กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐    83
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90