Page 9 - Culture3-2017
P. 9

“ข้ำพเจ้ำนั้นภูมิใจเสมอมำว่ำ คนไทยมีสำยเลือดของช่ำงฝีมือ  ว่าหญิงชาวบ้านที่มาเฝ้ารอรับเสด็จแทบทุกคนนุ่งซิ่นไหมซึ่งมีความ
            อยู่ทุกคน ไม่ว่ำจะเป็นชำวไร่ ชำวนำ หรืออำชีพใด อยู่สำรทิศใด คนไทย สวยงามต่างกัน พระองค์ทอดพระเนตรผ้าไหมเหล่านั้นด้วยความสน
            มีควำมละเอียดอ่อนและฉับไวต่อกำรรับศิลปะทุกชนิด ขอเพียงแต่  พระราชหฤทัยยิ่ง ทรงมีพระราชด�ารัสแก่หญิงเหล่านั้นให้สืบสานการ
            ให้เขำได้มีโอกำสฝึกฝน เขำก็จะแสดงควำมสำมำรถออกมำให้เห็น”  ทอผ้าไว้ ทรงสนับสนุนด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ทรงรับเด็ก
                         (พระราชด�ารัส สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ  ยากจนและการศึกษาน้อยเข้ามาเป็นนักเรียนศิลปาชีพโดยไม่จ�าเป็น

                    ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร  ต้องมีพื้นฐานมาก่อน แล้วจัดหาครูช่างฝีมือแขนงต่าง ๆ มาสอน
                       เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๓๒ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา) งานหัตถกรรมแทบทุกประเภทในสวนจิตรลดา นับเป็นก้าวแรกของ
                                                                 โครงการศิลปาชีพ และจัดตั้ง “มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จ-
                  พระราชกรณียกิจแรกทางด้านการส่งเสริมอาชีพหัตถกรรม พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ” เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม
            แก่ราษฎรเริ่มขึ้นเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๐๘ ระหว่างประทับที่ ๒๕๑๙ โดยมีการจัดตั้ง “โรงฝึกศิลปาชีพสวนจิตรลดา” ใน พ.ศ.
            วังไกลกังวล อ�าเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทั้งสองพระองค์ได้ ๒๕๒๑ เพื่อให้เป็นศูนย์กลางงานศิลปาชีพ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๘
            เสด็จพระราชด�าเนินไปทรงเยี่ยมเยียนราษฎรที่หมู่บ้านเขาเต่า สมเด็จ-  รัฐบาลได้จัดตั้งเป็นกองศิลปาชีพขึ้นในส�านักราชเลขาธิการ เพื่อ
            พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถได้ทรงชักชวนให้หญิงชาวบ้านหัดทอ  สนับสนุนงานของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
            ผ้าฝ้ายขาย โดยโปรดเกล้าฯ ให้จัดหาครูทอผ้าจากจังหวัดราชบุรีมาสอน  พระบรมราชินีนาถ งานศิลปาชีพได้ขยายไปทั่วทุกภูมิภาค
                  ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๓ ขณะโดยเสด็จ           ส�าหรับโรงฝึกศิลปาชีพสวนจิตรลดาได้ยกสถานะขึ้นเป็น
            พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ไป “สถาบันสิริกิติ์” เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๓ พัฒนางานหัตถกรรมชาวบ้าน
            ทรงเยี่ยมเยียนราษฎรหลังเกิดอุทกภัยที่จังหวัดนครพนม ทรงสังเกต สู่งานประณีตศิลป์ขั้นสูงดั่งช่างหลวงแห่งกรุงรัตนโกสินทร์



                                                                                             กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐    7
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14