Page 11 - Culture3-2017
P. 11

กุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อครั้งตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
            จึงโปรดเกล้าฯ ให้มาเป็นครูถ่ายทอดวิชาแก่นักเรียนศิลปาชีพ   บรมนาถบพิตร ไปทรงเยี่ยมราษฎรในภาคอีสาน
            โรงฝึกศิลปาชีพ สวนจิตรลดา เพื่ออนุรักษ์วิชาจักสานไม้ไผ่ลายขิด  พระองค์ทรงเล็งเห็นความงามของปีกแมลงทับที่สะท้อนแสง
            ให้ยั่งยืนสืบไป                                      สีเขียว ส้ม น�้าเงิน หรือม่วงแปรเปลี่ยนไปตามมุมมอง อีกทั้งคุณสมบัติ
                  นอกจากนี้พระองค์ยังทรงส่งเสริมงานจักสานเสื่อกระจูด  ของปีกแมลงทับที่มีความเหนียวสามารถตัดเป็นเส้นใหญ่เล็กได้ตาม

            ในภาคใต้ งานจักสานประเภทหวายในภาคต่าง ๆ และผักตบชวา  ต้องการ จึงโปรดเกล้าฯ ให้น�าปีกแมลงทับมาประดิษฐ์เป็นเข็มกลัด
            ซึ่งเป็นวัชพืชน�้าที่สร้างปัญหา ทรงมีพระราชด�าริให้น�ามาจักสาน  ปีกแมลงทับ แล้วทรงประดับบนฉลองพระองค์และผ้าทรงสะพัก
            เป็นเครื่องใช้และเครื่องเรือนที่งดงามแปลกตา          ในโอกาสส�าคัญ เกิดเป็นงานหัตถศิลป์
                                                                 อันงดงามน่าอัศจรรย์ขึ้นเป็นครั้งแรก
                        ปีกแมลงทับวาววับสลับสี                   ในประเทศไทย ต่อมาได้พัฒนาด้วย

                                                                 การน�ามาตกแต่งเครื่องประดับและ
                  ปีกแมลงทับที่ปักบนผ้าทรงสะพักหรือผ้าสไบของสมเด็จ-  งานหัตถกรรมอื่น ๆ เช่น รูปสัตว์ต่าง ๆ
            พระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ยังคงส่ง และสอดสลับลายกับย่านลิเภาประดับ
            ประกายสีเขียวแวววาวแม้ว่าจะมีอายุเก่าแก่กว่า ๑๐๐ ปีแล้ว แม้ว่า ตกแต่งกระเป๋าสตรี กล่องเงิน
            เนื้อผ้าเปื่อยไปตามกาลเวลา ยังความอัศจรรย์ในพระราชหฤทัย  กรอบรูป ไปจนถึงงานชิ้นใหญ่
            ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ท�าให้ทรงระลึกถึง  เช่น ฉากปีกแมลงทับ ไปจนถึง
            ปีกแมลงทับจ�านวนมากที่ชาวบ้านน�ามาร้อยเป็นพวงทูลเกล้าฯ ถวาย “ห้องปีกแมลงทับ”



                                                                                             กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐    9
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16