Page 14 - Culture3-2017
P. 14

สลักลายถมด�าเด่น อวดลวดลายประกายเงินทอง



               เครื่องถมไทยเป็นศิลปหัตถกรรมชั้นสูง นิยมท�าเป็น  ลงบนเครื่องทองหรือทาน�้าทองลงไปทั้งชิ้นงานเรียกว่า “ถมทอง”
          เครื่องราชูปโภคและเครื่องประกอบยศของขุนนางระดับสูง เช่น   สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงห่วงใยว่าวิชา
          กระโถน คนโท กล่องยา แอบหมาก เชี่ยนหมาก คันฉ่อง ฯลฯ   ช่างถมซึ่งเป็นศิลปหัตถกรรมของชาวนครศรีธรรมราชก�าลังจะ
          เครื่องถมปรากฏหลักฐานครั้งแรกในกฎมณเฑียรบาล ในรัชกาล สูญหายไป จึงมีพระราชประสงค์ที่จะอนุรักษ์และสืบสานศิลปะ
          สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอยุธยา และสืบต่อมา  แขนงนี้ให้สืบทอดต่อไป โดยโปรดเกล้าฯ ให้ครูช่างถมจากจังหวัด
          ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์                              นครศรีธรรมราชมาสอนวิชานี้ให้แก่นักเรียนศิลปาชีพ และใน
               งานเครื่องถม คือ การท�าลวดลายที่ขูดลงบนผิวภาชนะ  ส่วนพระองค์ก็โปรดที่จะพระราชทานเครื่องถมแก่พระราชอาคันตุกะ
          ที่เป็นเงินหรือทองให้เด่นชัดขึ้นด้วยการถมน�้ายาด�าลงไปในร่องที่ขูด จากต่างประเทศอยู่เนือง ๆ อีกทั้งทรงมีพระราชประสงค์ให้ช่างฝีมือ
          หรือสลักเป็นลายให้เต็ม โดยมากนิยมท�าบนเครื่องเงินแล้วถมด�าลง ช่วยกันอนุรักษ์กรรมวิธีการท�าเครื่องถมแบบโบราณไว้อย่างครบถ้วน
          ไปเรียกว่า “ถมเงิน” หรือแต้มน�้าปรอทมีทองค�าบริสุทธิ์ละลายอยู่   โดยเน้นลวดลายไทยให้อ่อนช้อยงดงาม คงคุณค่างานประณีตศิลป์
          ลงไปเฉพาะพื้นที่ที่ต้องการให้มีสีทองเรียกว่า “ถมตะทอง” หากท�า แบบโบราณของไทย




























          12
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19