Page 71 - Culture3-2017
P. 71

๒





            หมายถึง สระที่ต้องอาศัยพยัญชนะมาประกอบเท่านั้นจึงจะใช้ได้    ตัวเลขในอักษรธรรมอีสาน มี ๑๐ รูป เหมือนภาษาไทย
            มี ๒๗ รูป โดยเขียนไว้รอบพยัญชนะตัวเต็มคือ ด้านหน้าเรียกว่า  ปัจจุบัน
            สระหน้า ด้านหลังเรียกว่าสระหลัง ด้านบนเรียกว่าสระบน ด้านล่าง  อนึ่ง อักษรธรรมอีสานในหนังสือบางเล่มหรือในทัศนะของ
            เรียกว่าสระล่างเช่นเดียวกับภาษาไทย                   นักปราชญ์อีสานบางคนอาจพบว่าอักษรธรรมอีสานมีมากกว่านี้
                  ส่วนวรรณยุกต์ในอักษรธรรมอีสานไม่มีรูป แต่มีเสียง เช่น พยัญชนะ อาจมีมากกว่า ๓๗ เพราะเพิ่ม “ศ” และ “ษ” เข้าไป
            วรรณยุกต์ทั้ง ๕ เสียงเหมือนภาษาไทย โดยที่ผู้อ่านต้องผันหาเสียง ด้วย ส่วนสระเพิ่มสระ “ใ” เข้าไปด้วย จึงท�าให้มีจ�านวนมากกว่า

            เอาเองตามความหมายของประโยคหรือข้อความนั้น ๆ เป็นเกณฑ์  ที่กล่าวมา
            ในการพิจารณา ซึ่งวิธีการดังกล่าวนี้คนโบราณอีสานเรียกว่า   นอกจากนี้อักษรธรรมอีสานยังมีการประกอบค�าแบบพิเศษ
            “หนังสือ หนังหา” คือหาความหมายเอาเองตามค�าบริบทที่ เรียกว่า อักขรวิธีพิเศษ หมายถึง มีวิธีประสมอักษรแตกต่างจาก
            แวดล้อมของค�านั้น                                    กฎเกณฑ์ทั่วไป โดยมีรูปร่างแตกต่างไปจากรูปค�าที่ประกอบกัน
                  เครื่องหมายในอักษรธรรมอีสานที่ส�าคัญ ๆ มี ๕ อย่าง   ระหว่างพยัญชนะ สระ และเครื่องหมายที่ประกอบค�าตามปกติ
            แต่ละอย่างก็มีหน้าที่แตกต่างกันออกไป บางเครื่องหมายมีหน้าที่ ทั่วไป หรืออาจเขียนอย่างหนึ่งแต่อ่านอีกอย่างหนึ่ง แต่สามารถอ่าน
            หลายอย่างแล้วแต่บริบทของการใช้งาน เช่น เครื่องหมายไม้ซัด   เป็นค�าที่มีความหมายได้ ซึ่งต้องใช้การจดจ�าและพิจารณาเป็นพิเศษ
            ที่ใช้เป็นตัวสะกด แทน ก และเป็นไม้หันอากาศ เป็นต้น   และต้องดูบริบทของค�ารอบข้างจึงจะสามารถเข้าใจความหมายใน
                                                                 ค�าหรือประโยคนั้น ๆ เข้าใจ
            ภาพ ๑ ชั้นวางคัมภีร์ใบลานท�าเป็นชั้น ๆ คล้ายขั้นบันได ทางอีสานเรียกว่า   รูปอักษรธรรมอีสานเก่าแก่สุดเท่าที่พบในภาคอีสาน ได้แก่
            กากะเยียหรือขากะเยีย                                 จารึกฐานพระพุทธรูปพระประธานอุโบสถวัดพระธาตุพนม จังหวัด
            ภาพ ๒ หอไตรกลางน�้า วัดทุ่งศรีเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เป็นหนึ่ง
            ในหอไตรอีสานที่งดงามและได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ  นครพนม จุลศักราช ๘๖๕ หรือ พุทธศักราช ๒๐๔๖ ส่วนศิลาจารึก


                                                                                           กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐    69
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76