Page 69 - Culture3-2017
P. 69
๔
ต่าง ๆ มากมายนอกเหนือจากเรื่องเกี่ยวกับศาสนา ทั้งการบันทึก
เรื่องราวเกี่ยวกับทางโลกหรือศาสตร์ต่าง ๆ เช่น ต�ารายา โหราศาสตร์
ต�านานบ้านต�านานเมือง นิทานพื้นบ้าน ผญาภาษิต คาถา ไสยศาสตร์
เป็นต้น
รูปแบบและจ�านวนอักษรธรรมอีสาน
อักษรธรรมอีสาน ประกอบด้วย พยัญชนะ สระ เครื่องหมาย
และตัวเลข ซึ่งพยัญชนะแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ๑. พยัญชนะ
ตัวเต็ม หมายถึง พยัญชนะที่เขียนเต็มรูปแบบปกติ มี ๓๗ รูป
เขียนไว้บนบรรทัด โดยท�าหน้าที่เป็นพยัญชนะต้น ๒. พยัญชนะ
ตัวเฟื้อง หรือ ตัวห้อย หมายถึง พยัญชนะที่เขียนครึ่งรูป หรือ
ครึ่งตัว หรือเปลี่ยนรูปต่างจากพยัญชนะตัวเต็ม และเขียนไว้
๕ ใต้พยัญชนะตัวเต็มหรือใต้สระบางตัว โดยท�าหน้าที่เป็นพยัญชนะ
ตัวสะกดและพยัญชนะควบกล�้า หรือพยัญชนะตัวตาม
สระ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ๑. สระลอย หมายถึง
ภาพ ๔ ใบลานเรื่องพระบาง สระที่เป็นรูปส�าเร็จ สามารถน�ามาใช้เขียนได้เลย ใช้แทน อ ที่ผสม
ภาพ ๕ เจ้าหน้าที่ก�าลังส�ารวจใบลานต่าง ๆ กับสระนั้น ๆ มี ๘ รูป และการเขียนสระลอยจะเขียนอยู่ในระดับ
เดียวกับพยัญชนะตัวเต็มและอยู่ต้นค�าหรือต้นพยางค์ ๒. สระจม
กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐ 67