Page 35 - Culture3-2017
P. 35
๔
ของทศกัณฐ์ ส่งผลให้หน้าตาถมึงทึง หากเป็นพิเภก หัวโขนสะท้อนถึงความหลากหลายของศิลปะ ภาพ ๑ หัวโขนครูที่นิยมน�า
ที่เป็นยักษ์ดี มีนิสัยไม่ดุร้าย การเขียนสีใบหน้าจึง เชิงช่างที่หลอมรวมอยู่ในตัวช่างท�าหัวโขนแต่ละคน ไปบูชา
ไม่เน้นอารมณ์กราดเกรี้ยวเท่าไรนัก นอกจากนี้ยังมี ทั้งงานปั้น งานเขียนลายไทย งานลงสี จนถึงงาน ภาพ ๒ โคมไฟหน้าแมลงทับ
และอื่น ๆ เป็นการน�ากรรมวิธี
การแยกประเภทหัวโขนอื่น ๆ ที่ช่างท�าหัวโขนนิยม เช่น ประณีตศิลป์อื่น ๆ หัวโขนจึงเป็นที่ประกอบรวมงาน การท�าหัวโขนมาประยุกต์
การแยกตามมงกุฎยอด ตามสีกายและเครื่องแต่งตัว ชั้นเชิงช่างอันวิจิตร สร้างสรรค์ประโยชน์ใช้สอย
โดย แผนกช่างประดิษฐ์หัวโขน
ที่เต็มไปด้วยรายละเอียดและข้อก�าหนดปลีกย่อยอัน ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร
ถือเป็นขนบโบราณที่ช่างท�าหัวโขนล้วนยึดถือ เมื่อยามที่เสียงขับร้องร่ายท�านองเสนาะ วง ภาพ ๓ การแสดงโขนที่พัฒนา
หัวโขนที่เสร็จสิ้นทุกขั้นตอน ผ่านมือช่างท�า ปี่พาทย์โหมบรรเลง ใบหน้าของหัวโขนแต่ละตัว สู่ระบบแสง สี เสียง ในปัจจุบัน
ที่ขับเน้นให้การถ่ายทอด
หัวโขนอันแสนประณีต หลังจากถูกสวมใส่และใช้ ขยับโยกไหวไปตามเนื้อเรื่องและการเร้าอารมณ์ เรื่องราวในวรรณคดียิ่งเพิ่ม
ในการแสดงแล้ว การเก็บรักษาหัวโขนนั้นยังแทรกอยู่ ของบทที่ถูกถ่ายทอด อรรถรสในการรับชม
ด้วยศิลปะอันละเอียดอ่อนของที่เก็บหัวโขนที่เรียก มันอาจเป็นห้วงยามที่งานช่างโบราณที่ ภาพ ๔ หัวโขนเป็นศาสตร์
ของช่างชั้นสูงที่รวมทักษะ
กันว่า “ลุ้ง” ซึ่งเป็นภาชนะส�าหรับเก็บรักษาหัวโขน หลอมรวมจากสองมือและหัวใจของช่างท�าหัวโขน อันเป็นเลิศของช่างปั้น
โดยเฉพาะ แต่เดิมเป็นเครื่องจักสานที่ลงรักปิดทอง ได้ถ่ายทอดความเป็นหนึ่งในนาฏยศิลป์ชั้นสูงไว้ ช่างเขียน ช่างหล่อ ไว้ด้วยกัน
อย่างสมบูรณ์
อย่างวิจิตรงดงาม มีรูปร่างเป็นทรงกระบอกสั้น ๆ อย่างงดงาม เปี่ยมค่า และเต็มไปด้วยความเก่าแก่
ภายในตรงกึ่งกลางมี “ทวน” หรือหลักเตี้ย เป็น อันน่าหวงแหนรักษา
ไม้แป้นกลมมีเสาเป็นหลักขนาดพอดีกับหัวโขน
ส�าหรับวางไว้ไม่ให้ล้ม ขอบคุณ แผนกช่างประดิษฐ์หัวโขน ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐ 33