Page 73 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 73

เรียนรู้ภาษามลาบรี                                             ได้แก่ ก /k/ ง /?/ จ /c/ ซ /s/ ญ /?/ ด /t/ น /n/

                  ภาษามลาบรีเป็นภาษาที่จัดอยู่ในตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร  บ /p/ ม /m/ ย /j/ ร /r/ ล /l/ ลฮ /lh/ และ ฮ (h)
            กลุ่มย่อยขมุอิค มีความใกล้เคียงกับภาษาขมุ ภาษามัล/ปรัย (ลัวะ) ที่ผ่านมามีการ ภาษามลาบรีมีพยัญชนะสะกดที่เป็นเสียงเอกลักษณ์
            พัฒนาระบบเขียนภาษามลาบรีด้วยอักษรไทยโดยคนมลาบรีร่วมกับนักภาษาศาสตร์  ของภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก ได้แก่ ญ จ ฮ
            ทั้งชาวไทยและมิชชันนารีชาวต่างประเทศ และมีการเลือกใช้อักษรไทยที่ต่างกัน  สระภาษามลาบรี ได้แก่ ?ะ ?า /a/ ?ิ ?ี /i/ ?ึ
            แทนเสียงภาษามลาบรี อย่างไรก็ตามในที่นี้ขอน?าเสนอภาษามลาบรีอักษรไทย  ?ือ /?/ ?ุ ?ู /u/ เ?ะ เ? /e/ แ?ะ แ? /?/  โ?ะ โ? /o/
            จากโครงการสร้างระบบเขียนภาษามลาบรีเพื่อบันทึกความทรงจ?าทั้งชีวิตของ ?อ / / เ?อะ เ?อ /?/ เ?อฺ /?/ เ?ีย /ia/ และ ?ัว ?ว? /
            คนมลาบรี ซึ่งมีคนมลาบรีเป็นคณะนักวิจัย (วีระ ศรีชาวป่า และคณะ, ๒๕๕๒)   ua/ ความสั้นยาวของเสียงสระไม่ท?าให้ความหมาย
            พยัญชนะต้นภาษามลาบรี ได้แก่ ก /k/ ค /kh/ ฆ /g/ ง /?/ ฮง /h?/ จ /c/ ซ /s/  ของค?าภาษามลาบรีเปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามขณะนี้
            (เสียงนี้บางครั้งก็ออกเป็นเสียง ช /ch/ ฌ / / ญ /?/ ฮญ /h?/ ด /d/ ด่ /?d/ ต  เริ่มมีคู่ค?าที่แยกความหมายด้วยความสั้นยาวของเสียงสระ
            /t/ ท /th/ น /n/ ฮน /hn/ บ /b/ บ่ /?b/ ป /p/ พ /ph/ ม /m/ ฮม /hm/ ย /j/  แต่ยังไม่เกิดทั้งระบบ ดังนั้นเจ้าของภาษามลาบรีจึง

            ย่ /?j/ ฮย /hj/ ร /r/ ล /l/ ฮล /hl/ ว /w/ ฮว /hw/ อ /?/ ฮ (h) พยัญชนะสะกด  ตกลงกันว่า ในการใช้ภาษาไทยเขียนภาษามลาบรี
                                                                           ค?าที่มีตัวสะกดให้ใช้รูปสระเสียงยาว เช่น กอก = กล้องยาสูบ,
                                                                           ฆาล = สิบ, ญอก = ย่าม, มาด = ตา ส่วนค?าที่ไม่มีตัวสะกด
                                                                           หรือพยางค์แรกของค?าให้ใช้รูปสระเสียงสั้น เช่น
                                                                           กิ = ดวงจันทร์, ติ = มือ, จวก = ขุด, บราญ = หมา,
                                                                           กะซืน = เต่า, ตะฆูก = กบ, ละออก = หนาม
                                                                                 ภาษามลาบรีมีท?านองเสียงสูง-ต?่ามักจะลาก
                                                                           เสียงท้ายสูงและยาวกว่าปกติ แต่ไม่ใช่เสียงวรรณยุกต์
                                                                           เพราะไม่ได้ใช้ในการแยกความหมายของค?า จึงไม่ใช้
                                                                           รูปวรรณยุกต์ภาษาไทยก?ากับ
                                                                                 การสร้างค?า มีการเติมอาคมหรือหน่วยค?าเติม
                                                                           กลาง ท?าให้ประเภทของค?าเปลี่ยนไป เช่น ค?ากริยา
                                                                           เปลี่ยนเป็นค?านาม ดังตัวอย่าง
                                                                                 ฆละ = พูด เติม ร หลังพยัญชนะต้น เป็น ฆรละ =

                                                                           ค?าพูด
                                                                                 กาบ = ร้องเพลง เติม รน หลังพยัญชนะต้น เป็น
                                                                           กรนาบ = เพลง
                                                                                 ภาษามลาบรีมีการเรียงค?าของประโยคใน
                                                                           ลักษณะ ประธาน กริยา กรรม เช่นเดียวกับกลุ่มตระกูล
                                                                           ออสโตรเอเชียติกอื่น ๆ เช่น
                                                                                 ประโยคบอกเล่า ได้แก่ ตะโยะ ฌาก มัจ รวาย =
                                                                           ตาโยะ-ไป-เจอ-เสือ, โอฮ ฌาก แฆง = ฉัน-ไป-บ้าน
                                                                                 ประโยคปฏิเสธ ได้แก่ โอฮ กิ เออะ อาจ =
                                                                           ฉัน-ไม่-กิน-นก
                                                                                 ประโยคค?าถาม ได้แก่ ฌาก ฆา แลง เลฮ =
                                                                           ไป-ที่-ไหน-มา, อาเออะ ยูก แล = กิน-ข้าว-หรือยัง



                                                                                            เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐    71
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78