Page 75 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 75
ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๕๗ กรมส่งเสริม
วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ได้เล็งเห็น
คุณค่าของภาษามลาบรี ซึ่งถือเป็นเรื่องส?าคัญ
ในการสืบทอดภาษาและภูมิปัญญาของคนมลาบรี
จึงได้ประกาศขึ้นทะเบียนภาษามลาบรีให้เป็น
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติประจ?า
ปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ สาขาภาษา เพื่อส่งเสริม
การอนุรักษ์ สืบสาน ฟื้นฟู และปกป้องคุ้มครอง
มรดกทางภูมิปัญญาทางภาษาของประเทศไทย
ไว้ต่อไป
๓
๑-๒ การละเล่นและวิถีดั้งเดิมของชาวมลาบรีในงานปีใหม่บ้านห้วยหยวก
๓ วิถีชีวิตชาวมลาบรีที่บ้านห้วยหยวก อ?าเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
เอกสารอ้างอิง
- ชุมพล โพธิสาร. (๒๕๕๗). ภาษามลาบรี. มรดก
ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจ?าปี
พุทธศักราช ๒๕๕๗. กรมส่งเสริมวัฒนธรรม
กระทรวงวัฒนธรรม.
- วีรานันท์ ด?ารงสกุล. (๒๕๖๐). สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์
มลาบรี สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
มหาวิทยาลัยมหิดล. (อยู่ในระหว่างการจัดพิมพ์
เผยแพร่)
- วีระ ศรีชาวป่า และคณะ. (๒๕๕๒). โครงการสร้าง
ระบบเขียนภาษามลาบรีเพื่อบันทึกความทรงจ?า
ทั้งชีวิตของคนมลาบรี บ้านห้วยฮ้อม ต.บ้านเวียง
อ.ร้องกวาง จ.แพร่. ส?านักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น
- สุรินทร์ ภู่ขจร และคณะ. (๒๕๓๑). ผลการวิเคราะห์
กลุ่มสังคมล่าสัตว์ : ชนกลุ่มน้อยเผ่า “ผีตองเหลือง”
ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ฝ่ายวิชาการ กองพิพิธ-
ภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร.
- อิสระ ชูศรี และคณะ. (๒๕๕๕). โครงการวิจัยการ
ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชนหาของป่า-
ล่าสัตว์ในประเทศไทย. นครปฐม : ศูนย์ศึกษาและ
ฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต สถาบันวิจัย
ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
ส?านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐ 73-มิถุนายน ๒๕๖๐ 73
เมษายน