Page 38 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 38
๑ ๑ ภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัชกาลที่ ๕ ในอุโบสถวัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม เป็นภาพการก่อเจดีย์ทรายภายในก?าแพงวัด
ขณะเดียวกันยังมีชาวบ้านชาวเมืองพากันมาร่วมงานประเพณี ๒ ประเพณีแห่ต้นดอกไม้เพื่อถวายเป็นพุทธบูชาของชาวนาแห้ว จังหวัดเลย
จัดขึ้นทุกปีในช่วงเทศกาลสงกราสนต์ (อภินันท์ บัวหภักดี ภาพ)
ค?าว่า “สงกรานต์” เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า การย่างขึ้น ชาวอินเดียจึงถือเอาช่วงเวลาอันแสนสดใสนี้เป็นวันขึ้นปีใหม่ มีการ
หมายถึงดวงอาทิตย์ย่างขึ้นสู่ราศีใดราศีหนึ่ง ก็เรียกว่า สงกรานต์ เฉลิมฉลองกันอย่างเอิกเกริก
แต่ถ้าดวงอาทิตย์ย้ายจากราศีมีนขึ้นสู่ราศีเมษ เป็นการขึ้นปีใหม่ จะ ส่วนต?านานมหาสงกรานต์ที่รู้จักแพร่หลายในประเทศไทย
เรียกเป็นพิเศษว่า มหาสงกรานต์ เป็นต?านานที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓
ไม่เฉพาะกับคนไทย ทั้งมอญ เมียนมา สิบสองปันนา และไทลื้อ โปรดเกล้าฯ ให้จารึกไว้ในแผ่นศิลา ๗ แผ่น ติดไว้ที่คอสอง ในศาลา
๑
ต่างก็มีเทศกาลสงกรานต์ในแบบของตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ล้อมพระมณฑปทิศเหนือ (ปัจจุบันบางแผ่นหายไป) วัดพระเชตุพน
ชาวอินเดียฝ่ายเหนือนั้น การถือเอาวันที่ ๑๓ เมษายนเป็นวันมหา วิมลมังคลาราม ก็เพราะทรงเห็นว่าเป็นเรื่องน่ารู้ส?าหรับคนไทย
สงกรานต์เป็นคติเดิมของพวกเขาเลยทีเดียว ซึ่งเป็นวันที่ดวงอาทิตย์ อีกทั้งยังมีรายละเอียดของเนื้อเรื่องที่ชวนให้รู้สึกสนุกสนาน ท?าให้
ยกขึ้นสู่ราศีเมษ ฤดูกาลผ่านพ้นความเหน็บหนาว ต้นไม้ผลิดอกออกช่อ การเที่ยววัดมีสีสันยิ่งขึ้น
ฝูงสัตว์ที่เคยจ?าศีลเริ่มออกหากิน ธรรมชาติกลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง “แผ่น ๑ เรื่องมหาสงกรานต์นี้ มีพระบาลีฝ่ายรามัญว่า
เมื่อต้นภัทรกัปอันนี้ มีเศรษฐีคนหนึ่งหาบุตรมิได้ อยู่บ้านใกล้กับ
๑ คอสอง เป็นชื่อเรียกส่วนที่อยู่ระหว่างช่วงต่อของผนังอาคารบริเวณใต้แปหัวเสา นักเลงสุรา นักเลงสุรานั้นมีบุตร ๒ คน มีผิวเนื้อดุจทอง วันหนึ่ง
กับตับหลังคาของชั้นลด นักเลงสุรานั้นเข้าไปสู่บ้านเศรษฐี กล่าวค?าหยาบช้าแก่เศรษฐีต่าง ๆ
๒
36