Page 84 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 84

พระราชนิพนธ์แปลเกี่ยวกับชีวประวัติบุคคลส?าคัญทั้ง ๒ เรื่อง   เป็นของขวัญพระราชทานแก่ประชาชนเนื่องในโอกาสกาญจนาภิเษก
          จึงเป็นอุทาหรณ์เตือนใจให้ประชาชนคนไทยมีความรักชาติ คิดถึง  ครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปีในปีพุทธศักราช ๒๕๓๙ โดยทรงน?า
          เรื่องความสามัคคีปรองดอง และปลูกฝังความคิดให้ชื่นชมผู้มี  เนื้อหามาจากมหาชนกชาดกในนิบาตชาดกในคัมภีร์พระไตรปิฎก
          อุดมการณ์ มีความมุ่งมั่นในชีวิต คุณลักษณะต่าง ๆ ของบุคคลส?าคัญ  มหาชนกชาดกเป็นชาดกล?าดับที่ ๒ ในทศชาติ หรือสิบพระชาติ
          ของโลกทั้งสองคน เช่น ความกล้าหาญ ความสามัคคี ความเด็ดเดี่ยว   สุดท้ายของพระโพธิสัตว์ก่อนจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
          ความสามารถ ฯลฯ เป็นแบบอย่างอันดีแก่ผู้อ่านทุกคน     บารมีส?าคัญที่พระโพธิสัตว์บ?าเพ็ญในพระชาตินี้คือ วิริยะบารมี
               ในด้านกลวิธีการแปล พระองค์มิได้ทรงแปลจากต้นฉบับ   หมายถึงเป็นผู้กล้าหาญบากบั่นและมีความเพียร
          แบบค?าต่อค?า แต่ทรงแปลให้ได้อรรถรสโดยทรงเลือกสรรค?า ส?านวน   เนื้อเรื่องของพระราชนิพนธ์พระมหาชนกแบ่งเป็น ๓๗ ตอน

          และโวหารภาษาไทยมาใช้แทนภาษาอังกฤษอย่างตรงความหมาย   พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงด?าเนิน
          เช่น ในเรื่องนายอินทร์ ผู้ปิดทองหลังพระ ค?าว่า My Lord    เรื่องตามมหาชนกชาดก แต่ทรงตัดบางตอนและทรงเพิ่มเนื้อหา
          ทรงใช้ส?านวนไทยว่า “แม่เจ้าโว้ย” ข้อความว่า “A small man of   รวมทั้งทรงเปลี่ยนตอนท้ายของเรื่องให้ต่างไป โดยทรง “ตีความ”
          immense power” ทรงใช้ส?านวนว่า “เล็กพริกขี้หนู” ทรงเลือกใช้  ใหม่ให้สอดคล้องกับยุคสมัย กล่าวคือ พระมหาชนกมิได้เสด็จออก
          ค?าว่านายอินทร์ และ ปิด แทนค?าว่า “Intrepid” และทรงใช้ส?านวน   ผนวชเพื่อแสวงหาโมกขธรรมอย่างในชาดก แต่ทรงด?าริจะสร้างความ
          “ปิดทองหลังพระ” เพื่อบ่งบอกคุณสมบัติของเซอร์วิลเลียม สตีเฟนสัน   เจริญแก่เมืองมิถิลาเสียก่อน เนื่องจากประชาชนยังขาดปัญญาแต่
           ว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลก   กอปรด้วยอวิชชา ดังที่ประชาชนพากันหักโค่นต้นมะม่วงแย่งชิงกัน
          ครั้งที่ ๒ และท?างานอย่างมุ่งมั่นโดยไม่ได้หวังผลตอบแทน นอกจากนี้   เก็บกินผลมะม่วงจนหมดต้น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-
          ทรงเลือกใช้ประโยคสั้น กระชับ ไม่ซับซ้อน สื่อความได้ราบรื่นและ   ภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงเพิ่มเติมเรื่องวิธีฟื้นฟูต้นมะม่วงที่ถูกหักโค่น
          มีพระอารมณ์ขันจนผู้อ่านไม่รู้สึกว่าเป็นเรื่องแปล    ๙ วิธี ซึ่งมีทั้งวิธีที่เป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมและวิธีที่เป็นภูมิปัญญาสมัย
               พระราชนิพนธ์เล่มส?าคัญของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร-   ใหม่ และทรงเพิ่มเติมเรื่องการสร้างสถาบันการศึกษาโพธิยาลัย หรือ
          มหาภูมิพลอดุลยเดช คือ พระมหาชนก ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้น   ปูทะเลย์มหาวิชชาลัย เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน



          82
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89