Page 88 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 88

อาจารย์ธีระวัฒน์ คะนะมะ                                                       และเป็นสิริมงคลยิ่งแก่ผู้ที่
          วาดภาพประกอบพระราชนิพนธ์                                                      น้อมน?าไปปฏิบัติ ไม่ว่าจะเป็น
          ตลอดทั้งเล่ม รวม ๓๖ ภาพ                                                       เรื่องความเพียร สติ ปัญญา
          และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ                                                      สัจจะ ความเชื่อมั่นในความ
          ให้อาจารย์พิษณุ ศุภนิมิตร                                                     สามารถของมนุษย์ การรักษา
          ออกแบบจัดท?ารูปเล่มแบบ                                                        หน้าที่ ตลอดจนความมีคุณธรรม
          เทพนิยายของฝรั่ง คือมีภาพ                                                     ประชาชนชาวไทยทุกคนควร
          ประกอบให้สวยงามชวนอ่าน                                                        น้อมน?าค?าสอนในพระราชนิพนธ์
          นอกจากนี้ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์                                                  พระมหาชนกไปปฏิบัติให้สมดัง
          จันทนะผะลิน ได้รับพระมหา-                                                     พระราชประสงค์ของพระองค์ที่
          กรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ เป็น                                                     ทรงปรารถนาให้ประชาชนคน

          ประติมากรผู้ออกแบบปั้น                                                        ไทยทุกคนเป็นดั่งพระมหาชนก
          เหรียญพระมหาชนกตามแนว                                                         และพระราชทานพรไว้ว่า
          พระราชด?าริด้วย                                                                     “ขอจงมีความเพียรที่
               พระราชนิพนธ์เรื่องนี้เป็นผลงานสร้างสรรค์ทางวรรณศิลป์ บริสุทธิ์ มีปัญญาที่เฉียบแหลม ก?าลังกายที่สมบูรณ์”
          ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดมาก เป็น
          หนังสือที่พระองค์ทรง “รัก” อย่างยิ่ง ดังมีพระราชด?ารัสพระราชทาน  พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล-
          แก่คณะศิลปินและคณะสื่อมวลชนที่เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท  อดุลยเดชอีกเรื่องหนึ่งคือเรื่องทองแดง พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรก
          เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๓๙ ว่า           เมื่อเดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๕ เป็นสารคดีที่ทรง
               “หนังสือเล่มนี้รับรองได้ว่าเป็นหนังสือที่ไม่มีที่เทียม ต้องอวด  พระราชนิพนธ์เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษควบคู่กัน มีภาพ
          เสียหน่อยว่า ไม่มีที่เทียม ท่านผู้ที่เป็นศิลปิน ผู้ที่เป็นกรรมการและ  ๔ สีประกอบทั้งเล่ม และต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้
          ผู้ที่สนับสนุน ย่อมจะทราบดีว่างานที่เราท?านั้นคุ้มแค่ไหน…ต้องขอบใจ  นายชัย ราชวัตร น?าไปวาดเป็นภาพการ์ตูนเพื่อพิมพ์ฉบับการ์ตูน
          ท่านทั้งหลายทุกคนที่มาชุมนุมกันในที่นี้ เพื่อที่จะรับรู้ว่าหนังสือนี้มี เผยแพร่ด้วย
          ขึ้นแล้ว ที่ต้องขอบใจเพราะว่าหนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้าเอง เป็น  เรื่องทองแดงเป็นเรื่องราวของทองแดงสุนัขทรงเลี้ยง
          สิ่งที่เห็นว่ามีความส?าคัญ…เชื่อว่าจะเป็นประโยชน์กับทุกคน และเป็น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเล่าถึง

          ประโยชน์กับประชาชนทั้งไทยและเทศ…”                   ประวัติที่มาของทองแดงอย่างละเอียดว่าเป็นลูกตัวหนึ่งในจ?านวน
               หลังจากพระราชนิพนธ์พระมหาชนกเผยแพร่อย่าง  ๗ ตัวของสุนัขจรจัดเพศเมียชื่อแดงซึ่งถูกเจ้าหน้าที่ กทม. น?ามา
          กว้างขวางแล้ว พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ปล่อยคืนไว้ที่ศูนย์แพทย์พัฒนาพร้อมกับสุนัขจรจัด ๔ ตัวซึ่ง
          ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายชัย ราชวัตร น?าพระราชนิพนธ์ เคยอยู่ในถิ่นนั้นและมีความผูกพันกับชาวบ้านมาก เมื่อมาอยู่ที่
          เรื่องพระมหาชนกไปจัดท?าเป็นหนังสือการ์ตูนเพื่อยังประโยชน์ ศูนย์แพทย์พัฒนาไม่นาน แดงก็ตกลูก ต่อมามีผู้น?าเข้าเฝ้าฯ ถวายตัว
          แก่เด็กและเยาวชนอีกด้วย นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น  พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานชื่อ
          ที่ทรงใช้งานวรรณศิลป์เป็นเครื่องมือในการปลูกฝังจิตส?านึกและ  ให้ทองแดงและพี่น้องทุกตัว พระองค์ทรงเลี้ยงทองแดงตั้งแต่เป็น
          ค่านิยมที่ดีแก่เด็กและเยาวชนไทย                     ลูกสุนัขอายุได้ ๕ สัปดาห์ ให้อาศัยกินนม “แม่มะลิ” สุนัขอีกตัวหนึ่ง
               พระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนก นอกจากจะอนุรักษ์ ทรงเล่าถึงพัฒนาการเติบโตของทองแดง ความเฉลียวฉลาดแสนรู้
          สืบสานวรรณคดีชาดกโบราณแล้ว ยังพัฒนาเนื้อหาและรูปแบบ  ฟังภาษาได้รู้เรื่อง มีความสามารถพิเศษในการเก็บลูกมะพร้าว
          การน?าเสนอเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมร่วมสมัย สะท้อนให้เห็นถึง และปอกลูกมะพร้าว ทองแดงเป็นสุนัขที่มีกิริยามารยาทเรียบร้อย
          พระราชจริยวัตรและพระราชปณิธานของพระองค์อันเป็นแบบอย่าง  มีความกตัญญูรู้คุณ และที่ส?าคัญมีความจงรักภักดีต่อพระบาท-



          86
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93