Page 86 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 86

พระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนกจึงมิได้มีที่มาจากมหาชนก ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียน จนกล่าวได้ว่าโครงการต่าง ๆ ของพระบาท-
          ชาดกในนิบาตชาดกเท่านั้น หากแต่มาจากพระราชจริยวัตรและ  สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทั่วผืนแผ่นดินไทย คือ
          พระราชปณิธานในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช  ปูทะเลย์มหาวิชชาลัย ที่ประสิทธิ์ประสาทความรู้แก่มหาชนทั้งปวง
          ในการปกครองแผ่นดินและอาณาประชาราษฎร์ด้วย เมื่อพิจารณา อย่างไม่มีวันสิ้นสุด นอกจากความรู้อันเป็นวิชาการแล้ว พระบาท-
          คุณค่าของพระมหาชนกฉบับพระราชนิพนธ์ในด้านการให้ปัญญา สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชยังพระราชทานปรัชญา

          และความรู้ จะเห็นได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งในพระราชจริยวัตรและ  ความคิดของการพัฒนาคุณภาพชีวิต อันเป็นการสร้าง “ความส?านึก”
          พระราชปณิธานของพระองค์โดยแท้ พระองค์ทรงศึกษาค้นคว้า  ก?ากับไปกับ “ความรู้” ด้วย ได้แก่ การเกษตรแบบยั่งยืน ทฤษฎีใหม่
          ความรู้แขนงต่าง ๆ ทรงทดลองกระท?าเป็นแบบอย่าง แล้วทรงพระกรุณา  และแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งล้วนมีปรัชญาของความพอดี
          โปรดเกล้าฯ เผยแพร่ความรู้นั้นแก่ประชาชนทั่วไป ดังจะเห็นจาก พอกิน พอใช้ และพึ่งพาตนเอง อันเป็นการใช้ชีวิตอย่างมีปัญญา
          สิ่งประดิษฐ์คิดค้นของพระองค์จ?านวนมากมาย ได้แก่ กังหันน?้า  คือเป็นธรรมชาติและสอดคล้องเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ
          ชัยพัฒนา ฝนหลวง การปลูกหญ้าแฝก ฝายแม้ว รวมทั้งโครงการต่าง ๆ    พระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนกแสดงยุทธศาสตร์แห่ง
          ทั้งทางด้านเกษตร ประมง ป่าไม้ ชลประทาน พลังงาน ฯลฯ ใน การพัฒนาตามแนวพระราชด?าริ นั่นคือ การอนุรักษ์และพัฒนาต้อง
          พระราชวังจิตรลดารโหฐาน และโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด?าริ ด?าเนินควบคู่กันไป จึงจะท?าให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน เรื่องราวใน
          จ?านวน ๔,๐๐๐ กว่าโครงการที่กระจายอยู่ตามท้องถิ่นชนบททั่ว พระราชนิพนธ์พระมหาชนกตอนที่สะท้อนแนวพระราชด?ารินี้อย่าง
          ประเทศไทย ล้วนเป็นแหล่งการศึกษาเรียนรู้ที่นักเรียน นักศึกษา   เด่นชัด คือ การฟื้นฟูต้นมะม่วง ๙ วิธี ซึ่งเป็นส่วนของพระราชนิพนธ์
          นักวิชาการทั้งไทยและต่างประเทศไปศึกษาเรียนงานอยู่เป็นประจ?า  จากพระราชด?าริริเริ่มโดยแท้จริงเพราะไม่มีอยู่ในชาดก นอกจากเลข ๙
          รวมทั้งโครงการพระดาบสที่ให้ “วิชา” แก่ผู้ต้องการความรู้โดย  จะแสดงว่าเป็นเลขดี หมายถึงความก้าวหน้าแล้ว ยังน่าจะหมายถึง



          84
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91