Page 87 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 87
รัชกาลที่ ๙ นั่นคือ เป็นพระราชด?าริของรัชกาลที่ ๙ พระราชทานแก่ การเดินทางทางเรือของพระมหาชนกจากเมืองกาลจัมปากะไปยัง
ประชาชน การฟื้นฟูต้นมะม่วง ๙ วิธี คือ ๑. เพาะเม็ด ๒. ถนอมราก สุวรรณภูมิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร-มหาภูมิพลอดุลยเดช
ที่เหลือให้งอกใหม่ ๓. ปักกิ่งช?า ๔. เสียบยอด ๕. ต่อตา ๖. ทาบกิ่ง ทรงบูรณาการความรู้ทางโหราศาสตร์อันเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิม
๗. ตอนกิ่งให้งอกราก ๘. รมควันต้นที่ไม่มีลูก ๙. ชีวาณูสงเคราะห์ กับวิทยาการสมัยใหม่อันเป็นวิทยาศาสตร์ เช่น อุตุนิยมวิทยาและ
คือ เพาะเซลล์ จะเห็นได้ว่าทั้ง ๙ วิธีนี้ พระองค์ให้ความส?าคัญ ทรงใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเครื่องมือเทคโนโลยีสมัยใหม่สร้างสรรค์
กับภูมิปัญญาการเกษตรแบบดั้งเดิม และวิทยาการทางเกษตรกรรม ภาพแผนที่ขึ้น ท?าให้ผู้อ่านเห็นภาพและเกิดความรู้สึกจริงจัง
สมัยใหม่ไปพร้อมกัน ไปกับเรื่องราวที่เกิดขึ้นในนิทานชาดก พระราชนิพนธ์เรื่องนี้แสดง
ผู้อ่านพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนกจะเข้าใจตรงกันว่า ให้เห็นความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการล?้าเลิศของพระองค์ที่น?า
พระมหาชนกเป็นภาพแทนของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร- เรื่องเก่าโบราณมาน?าเสนอในมุมมองใหม่ที่ให้ข้อคิดอันเป็นประโยชน์
มหาภูมิพลอดุลยเดช แต่พระราชด?ารัสที่ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง แก่คนร่วมสมัย
หนึ่งในจิตรกรผู้ถวายงานวาดรูปประกอบพระราชนิพนธ์เรื่องนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรง
ได้เชิญมาเล่าให้ฟัง ท?าให้ส?านึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น พระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนก เป็น ๒ ภาษา คือ ภาษาไทยและ
หาที่สุดมิได้ นั่นคือ พระองค์มิได้ ภาษาอังกฤษ แต่ละตอนเริ่มต้น
มีพระราชประสงค์ให้ประชาชน ด้วยบทภาษาไทยแล้วจึงมีบทแปล
คิดว่าพระองค์คือพระมหาชนก ภาษาอังกฤษ ซึ่งบางค?าเป็นค?าที่
หากแต่มีพระราชประสงค์จะให้ ทรงคิดขึ้นเองจากรากศัพท์ภาษา
ประชาชนทุกคนเป็นดั่งพระมหา- อังกฤษและภาษาละติน เพราะ
ชนก พระราชด?ารัสนี้แสดงพระ- ไม่มีในพจนานุกรม เช่นค?าว่า
ราชด?าริว่ามิใช่พระมหากษัตริย์ dexterambulation หมายถึง
เท่านั้นที่ทรงกระท?าได้ หากแต่ เดินประทักษิณ การที่ทรงพระราช-
ประชาชนทุกคนก็มีหน้าที่บ?ารุงรักษา นิพนธ์เป็น ๒ ภาษาท?าให้พระราช-
และพัฒนาประเทศชาติ และทรง นิพนธ์ของพระองค์เผยแพร่ไปอย่าง
เชื่อมั่นว่าเมื่อประชาชนมีความเพียร กว้างขวางในหมู่ผู้อ่านทั้งชาวไทย
มีปัญญา และมีพลัง ก็สามารถน?า และชาวต่างประเทศ นอกจากนี้
ประเทศไปสู่ความเจริญได้ สมดัง ยังเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาภาษา
ที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ว่า ในเชิงเปรียบเทียบด้วย
“มิถิลาไม่สิ้นคนดี” พระราชนิพนธ์เรื่องพระมหา-
พระราชนิพนธ์เรื่องพระมหา- ชนกมิใช่เป็นหนังสือส?าหรับ
ชนกแสดงพระปรีชาสามารถรอบรู้ อ่านเท่านั้น พระบาทสมเด็จพระ-
ในสหวิทยาการของพระบาทสมเด็จ- ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมี
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชประสงค์ให้เป็นหนังสือ
ในเรื่องคอมพิวเตอร์ แผนที่ทาง ภาพด้วย นอกจากภาพแผนที่
อากาศ อุทกศาสตร์ อุตุนิยมวิทยา ฝีพระหัตถ์ ๔ ภาพแล้ว ทรงพระ-
โหราศาสตร์ เกษตรศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ฯลฯ ดังที่ได้ทรง กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จิตรกร ๘ คน คือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ
ค?านวณระยะทางระหว่างเมืองโบราณ แล้วพระราชทานข้อมูล ประหยัด พงษ์ด?า ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง อาจารย์ปัญญา
และแนวคิดให้จิตรกรวาดภาพแผนที่เมืองโบราณ นอกจากนี้ใน วิจินธนสาร อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ อาจารย์พิชัย
แผนที่ฝีพระหัตถ์ ๔ ภาพ พระองค์ทรงค?านวณวันและเดือนของ นิรันต์ อาจารย์เนติกร ชินโย อาจารย์จินตนา เปี่ยมสิริ และ
มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๐ 85