Page 30 - CultureMag2015-3
P. 30
เครอื่ งทองเหลอื ง : ดงู า่ ยแตท่ ำ� ยาก
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม เครื่องทองเหลือง
บ้านปะอาว ต�ำบลปะอาว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
เป็นวิชาช่างฝีมือดั้งเดิมแขนงหน่ึงที่ยังคงมีลมหายใจ ม ี
การประยุกต์ปรับเปลี่ยนให้ตอบสนองต่อความต้องการใน
โลกปัจจุบัน โดยยังคงรักษาคุณค่าและอัตลักษณ์ของเครื่อง
ทองเหลืองแบบดัง้ เดิมไว้ไม่ให้สญู สลาย
“งานช่างทองเหลืองมันเบ่ิงคือง่าย แต่มันกะบ่ง่าย
มนั เปน็ งานละเอยี ด ผเู้ พนิ่ บม่ กั กะเฮด็ บไ่ ดโ้ ดน ผมู้ กั กะเฮด็ ได้
เปน็ อาชพี ได้”
ค�ำบอกเล่าของ สุเทพ ร่วมรักษ์ วัย ๔๗ ปี ผู้สืบทอด
วิชาช่างนับเน่ืองมาเป็นรุ่นท่ี ๖ บอกเล่าถึงศิลปะการหล่อ
เคร่ืองทองเหลือง ว่าผู้ท่ีจะมาท�ำงานต้องมีความรักชอบเป็น
พน้ื ฐาน จงึ จะสามารถท�ำงานไดน้ าน
วชิ าชา่ งหลอ่ ทองเหลอื งของชาวปะอาวเปน็ งานสบื ทอด
กันมาจากรุ่นสู่รุ่น บางคนถึงกับกล่าวว่าเป็นงานช่างฝีมือที่
สืบทอดมาแต่อารยธรรมก่อนประวตั ิศาสตรท์ บ่ี ้านเชียง
การแกะลวดลายลงบนข้ผี งึ้ เปน็ ขั้นตอนสำ� คญั
ในกระบวนการผลิตแบบสญู ขผ้ี ง้ึ
เนอ่ื งจากลวดลายตา่ งๆ ท่ีเกิดข้ึนในข้นั ตอนนี้
จะเป็นลวดลายที่เกิดข้นึ จริงบนเคร่อื งทองเหลอื ง
28 วฒั นธ รม