Page 32 - CultureMag2015-3
P. 32

☞

       ๒. การปั้นหุ่น (แม่แบบ) น�ำดินโพนท่ีผสมกับมูลวัวมาปั้นเป็น                             “มอนนอ้ ย” เปน็ อุปกรณก์ ารกลึงข้นึ รปู ห่นุ เคร่อื งทองเหลือง
   รปู ทรงและขนาดตามตอ้ งการ โดยน�ำไมม้ อนมาประกอบเปน็ แกนกลาง                                ท่ชี าวบา้ นปะอาวผลติ ขนึ้ เอง 
   ของหนุ่  น�ำไปผง่ึ แดดให้แหง้  จากนัน้ กลงึ ใหไ้ ดส้ ดั ส่วน

       ๓. การเตรียมข้ีผ้ึง น�ำข้ีผ้ึง ขี้สูด และข้ีซี ต้มหลอมรวมกันใน
   อัตราส่วน ๓ : ๑ : ๒_๕ (อัตราส่วนข้ีซีขึ้นอยู่กับสภาพอากาศร้อน 
   หรอื เย็น) จากนั้นน�ำไปเทใสถ่ าด ปล่อยให้เยน็ เป็นแผ่นข้ผี ง้ึ

       อุปกรณท์ ี่ต้องใช้ในข้นั ตอนนี้ คอื กระทะและเตาไฟ
       ๔. การรดี เสน้ ขผ้ี งึ้  นำ� ขผี้ งึ้ ทเ่ี ตรยี มจากขอ้  ๓ มาลนไฟใหอ้ อ่ นตวั
   แล้วใส่กระบอกของบั้งเดียก (อุปกรณ์ส�ำหรับรีดเส้น ท�ำจากไม้ไผ่
   คล้ายกระบอกสูบ) เพ่ือรีดเป็นเส้น โดยก่อนใส่ข้ีผึ้งต้องอังบ้ังเดียกให้
   แกนกระบอกซึ่งทำ� จากเหล็กอุ่น เพ่ือช่วยให้ขี้ผ้ึงไม่แข็งตัว จากนั้นดัน
   ด้ามกระบอกของบั้งเดียกเพ่ือบีบอัดให้ข้ีผ้ึงออกมาเป็นเส้น ใส่ลงบน
   กระด้ง วิธีการรีดให้ส่ายบง้ั เดยี กไปมาคล้ายการบบี เส้นขนมจีน
       อปุ กรณท์ ตี่ อ้ งใชใ้ นขนั้ ตอนน ้ี ไดแ้ ก ่ บง้ั เดยี ก เตาถา่ น และกระดง้
       ๕. การพนั ขผ้ี งึ้ หรอื เคยี นขผ้ี ง้ึ  นำ� เสน้ ขผี้ งึ้ ทไ่ี ดจ้ ากการรดี ในขอ้  ๔ 
   มาพนั รอบหนุ่ ในขอ้  ๒  แลว้ นำ� ขผี้ ง้ึ ไปลนไฟใหน้ มุ่  บบี ขผ้ี ง้ึ ใหเ้ สมอกนั
   กอ่ นนำ� ไปกลึงใหเ้ รียบเสมอื นชน้ิ งานทจี่ ะออกมาจริง
       ๖. การตกแต่งลวดลาย ตกแต่งลวดลายตามแบบชิ้นงานที่
   ต้องการ ช่างทองเหลืองบ้านปะอาวมักใช้แม่พิมพ์เขาควายกดลงบน 
   ข้ผี ึ้ง แต่ก่อนกดตอ้ งน�ำแบบชุบนำ้� เสียกอ่ น ป้องกนั ขีผ้ ง้ึ ตดิ แบบ 
       ๗. การโอบเพ็ดหรือการโอบดิน เก็บลวดลายบนแม่แบบขี้ผ้ึง
   โดยน�ำเศษดินโพนผสมมูลวัวมาผสมน้�ำเล็กน้อยให้พอปั้นได้ แล้วน�ำ
   มาโอบรอบหุ่นแบบที่เขียนลวดลาย ตกแต่งเป็นช้ินงานท่ีต้องการ   
   ขั้นตอนนี้ตอ้ งใสส่ ายชนวน (ติดแซง) ส�ำหรับเป็นช่องเททองเหลืองลง
   ไปแทนขีผ้ ้ึงดว้ ย
       ๘. การโอบเบ้า น�ำดินโพนเหนียวผสมแกลบโอบรอบหุ่นและ 
   ป้ันให้มีฐานกว้างพอจะตง้ั ช้นิ งานบนดนิ ได ้ เป็นขนั้ ตอนโอบท้ายสุด 
       ๙. การผ่ึงแดด น�ำไปผ่ึงแดดให้แห้ง ระยะเวลาขึ้นอยู่กับช้ินงาน
   และแดด
       ๑๐. การสุมเบ้า น�ำชิ้นงานท่ีแห้งดีแล้วไปสุมเบ้าในเตาเผา
   อณุ หภมู ิราว ๗๐๐ องศาเซลเซียส
       ๑๑. การคว่�ำเบ้า น�ำเบ้าออกมาตั้งโดยคว่�ำลง เพื่อให้ขี้ผ้ึงที่
   ละลายไหลออกจากเบา้  ชอ่ งทางทไ่ี หลออกคอื ชอ่ งทตี่ ดิ ชนวนไว ้ กลาย
   เป็นรเู พ่ือเททองเหลอื ง
       ๑๒. การเททองเหลือง ระหว่างสุมเบ้าจะละลายน�้ำทองเหลือง
   ไว้ที่อุณหภูมิราว ๑,๐๐๐ องศาเซลเซียส เมื่อทองเหลืองละลายดีแล้ว
   น�ำไปเทลงในหุ่นแม่แบบจนเต็ม ทิ้งไว้ราว ๒๐ นาที จึงกะเทาะแบบ
   ออกมาเป็นชิ้นงาน
       ๑๓. การตกแตง่  นำ� ชนิ้ งานทไี่ ดม้ ากลงึ  ตกแตง่ ใหส้ วยงาม กอ่ น
   นำ� ไปใชง้ านหรือจำ� หน่าย

30 วัฒนธ รม
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37