Page 34 - CultureMag2015-3
P. 34
อเคารช่อื พี งเทสอรงิมเจหาลกือกงา รท�ำนา ชา่ งทองเหลอื งที่บา้ นปะอาว
แต่โบราณมา ชาวบ้านปะอาวมีวิถีชีวิตเกษตรกรรม ในโลกปจั จบุ นั งานชา่ งฝมี อื ตกอยบู่ นความสลบั ซบั ซอ้ น
ท�ำนาเป็นหลัก ส่วนหัตถกรรมเครื่องทองเหลืองถือเป็น ต้องเรียนรู้ท่ีจะผสมผสานคลุกเคล้าดุจการปรุงต�ำรับอาหาร
อาชีพเสริมยามว่างเว้นจากงานหลัก แต่ละปีจะมีการเท เลิศรสให้คนได้ล้ิมลอง การปรับประยุกต์ลวดลาย ลักษณะ
ทองเหลืองเพียงครั้งเดียว จากน้ันจะหาบหรือบรรทุกเกวียน เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ต้องสอดคล้องกับปัจจุบันจึงจะท�ำให้งาน
เข้าไปในเมอื ง ขายให้รา้ นสังฆภัณฑ์บ้าง ขายตามบา้ นบ้าง ช่างฝีมอื คงอยไู่ ด้
ยามว่างจากงานท้องทุ่งหลังเก็บเก่ียวแล้ว คนรุ่นเก่า ทกุ วนั นใี้ นบา้ นปะอาวมชี า่ งหลอ่ เครอื่ งทองเหลอื งราว
จะเตรียมเบ้าหลอมทองเหลืองจากวัสดุที่หาได้ในท้องถ่ิน ๓๐ คน แตก่ ผ็ ลดั เปลยี่ นหมนุ เวยี นกนั เขา้ มาท�ำ ทท่ี ำ� ประจำ� มี
จากน้ันแต่ละครอบครัวก็จะหาบเบ้าเข้าไปในป่า หาท�ำเล ไมม่ ากนัก
หลอมเททองเหลือง เน่ืองจากหาฟืนและก่อไฟได้ง่าย ระยะ
ต่อมาจึงปรับเปลี่ยนมาทำ� ที่ใต้ถุนบ้าน ปัจจุบันมีการรวมตัว “คนรนุ่ ผมรนุ่ ท ี่ ๖ กม็ เี ทา่ น ้ี รนุ่ ๗ นนั้ ไมร่ จู้ ะมสี กั กคี่ น
กันเปน็ กลุม่ ทำ� เคร่ืองทองเหลอื งในบริเวณวดั ของหมบู่ ้าน เพราะงานนี้มันใช้เวลา ละเอียด คนรุ่นหลังเขาท�ำอย่างอื่น
มันเร็ว ได้เงินเร็วกว่า แต่ผมก็ภูมิใจท่ีได้สืบความรู้ของปู่ย่าไว้
การท�ำเครื่องทองเหลืองเป็นศาสตร์และศิลป์ท่ีงดงาม ท่ีเหลือคงตอ้ งเปน็ เร่อื งของคนรุ่นหลงั ”
ต้องประกอบด้วยความรู้ทางด้านโลหะวิทยาและศิลปะ
ความรู้เหล่าน้ีถูกถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น เป็นการเรียนรู้ผ่าน ทองค�ำ ประทุมมาศ เล่าขณะที่สองมือยังคงประณีต
ประสบการณ์ มีการปรับเปล่ียนเพื่อให้เกิดความง่าย งดงาม ลวดลายลงบนแม่แบบขี้ผ้ึง
และเหมาะสมกับประโยชนใ์ ช้สอยในแต่ละยุคสมยั
เสียงฟ้าค�ำรามยามบ่าย เป็นสัญญาณว่าอีกไม่นาน
ในอดตี เครอ่ื งทองเหลอื งทนี่ ยิ มผลติ กนั ไดแ้ ก ่ เตา้ ปนู เม็ดฝนกจ็ ะร่วงหล่นจากฟ้า
ตะบันหมาก กระพรวน (หมากหิ่ง) โกร่ง ระฆัง ขันลงหิน
ระยะหลงั เครอ่ื งใชบ้ างอยา่ งไมเ่ ปน็ ทนี่ ยิ มจงึ หมดไป แตก่ ม็ กี าร “โอ.้ ..มนั กะจ๋งั ซ่ลี ะครับ ตอ้ งตากเบ้าอกี หลายม้อื ”
ท�ำเพิ่มเติมเป็นชุดเช่ียนหมาก คนโทน�้ำ แจกัน เชิงเทียน บุญมี ล้อมวงศ์ กล่าวอย่างข�ำๆ พร้อมกับเดินไปเก็บ
พานรองรูปแบบต่างๆ โดยลวดลายท่ีเป็นอัตลักษณ์ของ ช้ินงานท่ีตากไว้เข้าร่มก่อนที่ฝนจะตกลงมาเปียกชิ้นงานที่
เคร่ืองทองเหลืองบ้านปะอาว ได้แก่ ลายบัว ลายหมากหวาย เพียรปั้นแต่ง
ลายไข่ปลา ลายลูกกลิ้ง นอกจากน้ีแล้วยังมีลวดลายที่ สายฝนโปรยปรายลงแผ่นดิน รอเมล็ดพันธุ์แตกหน่อ
ออกแบบขึ้นใหม่ในระยะหลังด้วย อ่อนเป็นต้นไม้ของฤดูกาลใหม่ หากแต่วันพรุ่งนี้ บ้านปะอาว
จะมชี า่ งหลอ่ เครอื่ งทองเหลอื งสบื ทอดมรดกวฒั นธรรมโบราณ
ของชาวอบุ ลราชธานหี รอื ไม ่ ยงั คงเปน็ คำ� ถามทไ่ี มม่ คี ำ� ตอบ
ขอบคณุ
คุณบญุ ม ี ลอ้ มวงศ ์ คุณสุเทพ รว่ มรกั ษ์ คณุ หนมู อญ ประทุมมาศ
และคณุ ทองคำ� ประทุมมาศ
บรรณานุกรม
สุรยิ า โชคสวัสดิ์ และเจรญิ ชมุ มวล. ทร่ี ะลกึ พิธวี างศลิ าฤกษ์สร้าง
พระมหาธาตเุ จดยี ศ์ รีบรู พา. อบุ ลราชธาน ี : ศิริธรรมออฟเซท,
๒๕๕๖.
32 วฒั นธ รม