Page 85 - CultureMag2015-3
P. 85
จันทบรุ ี (สีนา้ํ มัน พ.ศ. ๒๔๙๘)
ผลงานรางวัลเหรียญทองจากงานแสดงศิลปกรรมแหง่ ชาติ
๒๔๙๘ ซ่ึงแขวนแสดงเป็นการถาวรอยู่ ณ พิพิธภัณฑสถาน การขดุ สมบตั โิ บราณตามกรวุ ดั รา้ ง น. ณ ปากนำ�้ กลบั ลว่ งหนา้
แหง่ ชาต ิ ศลิ ป ์ พีระศรี อนุสรณ์ อยจู่ นบดั น้ี ไปถงึ การศกึ ษาภาพเขยี นบนฝาผนงั โบสถว์ หิ าร ลวดลายปนู ปน้ั
และตู้พระธรรมลายรดน้�ำ แต่ก็เช่นเดียวกับผู้มาก่อนกาล
ด้วยความส�ำเร็จจากหน้าท่ีการงานท่ีโรงเรียน คนอน่ื ๆ เมอ่ื แลเหน็ ในสง่ิ ทผี่ อู้ นื่ ยงั มดื บอด คดิ ลว่ งหนา้ ไปยงั
ศิลปศึกษา ประยูรในวัยยังไม่เต็ม ๓๐ ก็ได้รับมอบหมาย เรอ่ื งทย่ี งั ไมม่ ใี ครนกึ ฝนั ประกาศถงึ ความอนั ไมม่ ผี ใู้ ดพรอ้ มจะ
ต�ำแหน่งเลขาธิการมหาวิทยาลัยศิลปากร แต่แล้วโชคชะตา สดบั ฟัง ผลท่ีได้รบั ย่อมเปน็ ความเจ็บปวด
กลับเล่นตลกกับเขา หลังจากเกียรติยศรางวัลเหรียญทองไม่
ถึง ๒ ปี จิตรกรคนเดียวกันนั้นก็ต้องหนีหัวซุกหัวซุน เม่ือเกิด เสยี งของ น. ณ ปากนำ้� ไมเ่ คยดงั พอ ทงั้ กรมศลิ ปากร
ความผดิ พลาดเรอื่ งการเงนิ ขน้ึ แมจ้ ะไมใ่ ชค่ วามผดิ ของเขา แต่ กรมการศาสนา ตลอดไปถึงสมมุติสงฆ์ท่ีครอบครองมหา
โดยความรบั ผิดชอบในฐานะผู้บริหาร ประยูรต้องลาออกจาก สมบตั ขิ องบา้ นเมอื งอยจู่ งึ ไมม่ ใี ครสนใจไยดอี ะไร แตง่ านทเ่ี ขา
ราชการ มิหน�ำซำ้� ยังเกอื บจะถูกจับกมุ ด�ำเนนิ คดีอีกด้วย ทุ่มเทชีวิตกระท�ำไปนี้ก็มิได้ไร้ผลโดยสิ้นเชิง เพราะข้อเขียน
เหล่าน้ันยังส่งผลสะท้อนสะเทือนต่อเน่ืองมาอีกหลายสิบป ี
หลายปตี ่อมา เขาตะลยุ เขา้ ป่าเข้าดง ตระเวนศกึ ษา บทความว่าด้วยศิลปะโบราณของไทยอันเป็นแหล่งรายได้
ศลิ ปะโบราณเพอื่ ใหล้ มื เรอื่ งรา้ ยๆ เสยี เมอื่ ไดเ้ ดนิ ทางมากเขา้ เล้ียงชีพดูแลลูกเมียในยามยากน้ีเองได้จุดประกายไฟแห่ง
พบเห็นมากเข้า ก็อดจะเปรียบเทียบกับความรู้เดิมของตัว ศิลปะให้แก่คนรุ่นใหม่ หลายคนเกิดแรงบันดาลใจ เร่ิมต้น
ไมไ่ ด ้ ประยรู อลุ ชุ าฎะ จงึ เรม่ิ ตน้ ชวี ติ นกั เขยี น จบั ปากกาขนึ้ สนใจในความเป็นมาของบ้านเมือง และเริ่มต้นความรักใน
บอกเล่าเร่ืองราวทางศิลปะออกสู่สาธารณชน นามปากกา ศลิ ปะ กจ็ ากคอลมั นข์ องเขาน่ีเอง
“น. ณ ปากนำ�้ ” จึงถือกำ� เนดิ ขึ้นที่นติ ยสาร ชาวกรุง
แม้จะมิได้อยู่ในฐานะครูโรงเรียนเช่นท่ีเคยเป็นมา
น. ณ ปากนำ้� ถอื ไดว้ า่ เปน็ หนงึ่ ในบรรดา “ผมู้ ากอ่ น แต่เขาก็ยังคงเปี่ยมไปด้วยจิตวิญญาณแห่งความเป็น “ครู”
กาล” ขณะทก่ี รมศิลปากรยคุ ทศวรรษ ๒๕๐๐ ยงั คงมุง่ มั่นกบั
กรกฎาคม-กนั ยายน ๒๕๕๘ 83